ผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การศึกษาผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทาการเลี้ยงไก่ไข่ลูกผสมพันธุ์ Babcock อายุ 56 สัปดาห์ จานวน 160 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารสาเร็จรูป(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.10% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 3 อาหารเสริม ขมิ้นชัน 0.25% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 4 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.50% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% เลี้ยงไก่ไข่เป็นเวลา 63 วัน โดยเก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 21 วัน ทาการบันทึก น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน จานวนไก่ตาย จานวนไข่ และเปอร์เซ็นต์ไข่ พบว่า อัตราการไข่ น้าหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ และอัตราการรอดชีวิต ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่พบแนวโน้มว่าไก่ไข่กลุ่มที่ 3 ที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชัน 0.25 บอระเพ็ด 0.20 และฟ้าทะลายโจร 0.20% มีค่ามวลไข่ (P=0.09) และปริมาณอาหารที่กิน (P=0.06) มากกว่ากลุ่มควบคุม การศึกษาผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทาการเลี้ยงไก่ไข่ลูกผสมพันธุ์ Babcock อายุ 56 สัปดาห์ จานวน 160 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารสาเร็จรูป(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.10% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 3 อาหารเสริม ขมิ้นชัน 0.25% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 4 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.50% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% เลี้ยงไก่ไข่เป็นเวลา 63 วัน โดยเก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 21 วัน ทาการบันทึก น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน จานวนไก่ตาย จานวนไข่ และเปอร์เซ็นต์ไข่ พบว่า อัตราการไข่ น้าหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ และอัตราการรอดชีวิต ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่พบแนวโน้มว่าไก่ไข่กลุ่มที่ 3 ที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชัน 0.25 บอระเพ็ด 0.20 และฟ้าทะลายโจร 0.20% มีค่ามวลไข่ (P=0.09) และปริมาณอาหารที่กิน (P=0.06) มากกว่ากลุ่มควบคุม การศึกษาคุณค่าทางอาหาของยะอินทรีย์ที่มีศัยภาพ เป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ปณัท สุขสร้อย หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาคุณค่าทางอาหารของขยะอินทรีย์ที่มีศักยภาพ เพียงพอต่อการนำมาเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งได้แก่ เศษกะหล่ำปลี เศษกะหล่ำดอก เศษผักกาดขาว เศษผักกาดหอม และเศษข้าวโพดฝักอ่อน ที่ได้จากการคัดทิ้ง และตัดแต่ง ภายในตลาดพืชผักผลไม้ศาลาลำดวน อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว วิเคราะห์ความแปรปรวนของ องค์ประกอบทางเคมีตามแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ผลพบว่าวัตถุแห้ง (DM) ของ เศษกะหล่ำดอกมีค่าสูงที่สุด คือ ร้อยละ 12.42 ขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณโปรตีนรวม (CP) มีค่าสูงที่สุด ได้แก่ เศษ ผักกาดหอม (ร้อยละ 14.59) ขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณเยื่อใยรวม (CF) สูงที่สุดคือ ได้แก่ เศษข้าวโพดฝักอ่อน (ร้อยละ 22.53) และขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณเยื่อใยผนังเซลล์ (NDF) และเยื่อใย ลิกโนเซลลูโลส (ADF) สูงที่สุด ได้แก่ เศษข้าวโพดฝักอ่อน (ร้อยละ 52.68 และ 24.65 ตามลำดับ) จากผลการทดลองพบว่าเศษกะหล่ำปลีเป็นขยะอินทรีย์ที่มี ศักยภาพเพียงพอต่อการนำมาเป็นอาหาร สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยพิจารณาจากปริมาณที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ช่วงระยะเวลาที่มีผลผลิต และคุณค่าทางโภชนา แต่ทั้งนี้ปริมาณความชื้นของเศษกะหล่ำปลีมีค่อนข้างสูง (ร้อยละ 92.29) ทำให้เน่าเสียเร็ว เมื่อนำมาเลี้ยงสัตว์จะไม่สามารถเก็บไว้ใช้เป็นเวลานานได้ จึงต้องนำมาถนอมโดย การหมัก
คุณภาพซากและความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อเนื้อโคนมคัดทิ้งที่ขุน ด้วยเศษกะหล่ำปลีหมัก | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.จารุนันท์ ไชยนาม หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
งานวิจัยนี้ศึกษาคุณภาพซาก และความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อเนื้อแม่โคนมคัดทิ้งขุนด้วยเศษ
กะหล่ำปลีหมัก โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design, CRD การทดลองที่ 1 การศึกษาคุณภาพซากโคนมคัดทิ้งสายพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชียน เพศเมีย น้ำหนักเฉลี่ย 530 – 655 กิโลกรัม เลี้ยงขุนเป็นเวลา 3 เดือน ด้วยอาหาร 2 สูตร คือกลุ่มที่ 1 เลี้ยงด้วยอาหารข้น 1 % ร่วมกับฟางแบบเต็มที่ (Control) และกลุ่มที่เลี้ยงด้วยอาหารข้น 1% เสริมด้วยกะหล่ำปลีหมัก 10% ร่วมกับฟางข้าวแบบเต็มที่ (Ensiled cabbage waste) การทดลองที่ 2 ทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสด้วยวิธี 9-point hedonic scale โดยใช้เนื้อตัวอย่าง 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเนื้อโคนม (Control) กลุ่ม (Ensiled cabbage waste) และกลุ่มเนื้อวัวทางการค้า (Commercial) ผลการทดลองที่ 1 พบว่าน้ำหนักซากอุ่น น้ำหนักซากเย็น เปอร์เซ็นต์ซากของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) แต่น้ำหนักเนื้อสันนอกของกลุ่ม Ensiled cabbage waste มีน้ำหนักสูงกว่ากลุ่ม Control และผลการทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผู้บริโภค พบว่าลักษณะปรากฏ กลิ่นรส รสชาติ ลักษณะเนื้อสัมผัส และการยอมรับโดยรวมของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่มไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) โดยตัวอย่างเนื้อโคนมคัดทิ้งขุน พบว่าไม่มีความแตกต่างทั้งลักษณะปรากฏ กลิ่นรส รสชาติ ลักษณะ สัมผัส และการยอมรับโดยรวม กับกลุ่ม Commercial (P>0.05)
การศึกษาคุณค่าทางอาหารของขยะอินทรีย์ที่มีศักยภาพเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ปนัท สุขสร้อย หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาคุณค่าทางอาหารของขยะอินทรีย์ที่มีศักยภาพ เพียงพอต่อการนำมาเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งได้แก่ เศษกะหล่ำปลี เศษกะหล่ำดอก เศษผักกาดขาว เศษผักกาดหอม และเศษข้าวโพดฝักอ่อน ที่ได้จากการคัดทิ้ง และตัดแต่ง ภายในตลาดพืชผักผลไม้ศาลาลำดวน อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว วิเคราะห์ความแปรปรวนของ องค์ประกอบทางเคมีตามแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ผลพบว่าวัตถุแห้ง (DM) ของ เศษกะหล่ำดอกมีค่าสูงที่สุด คือ ร้อยละ 12.42 ขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณโปรตีนรวม (CP) มีค่าสูงที่สุด ได้แก่ เศษ ผักกาดหอม (ร้อยละ 14.59) ขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณเยื่อใยรวม (CF) สูงที่สุดคือ ได้แก่ เศษข้าวโพดฝักอ่อน (ร้อยละ 22.53) และขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณเยื่อใยผนังเซลล์ (NDF) และเยื่อใย ลิกโนเซลลูโลส (ADF) สูงที่สุด ได้แก่ เศษข้าวโพดฝักอ่อน (ร้อยละ 52.68 และ 24.65 ตามลำดับ) จากผลการทดลองพบว่าเศษกะหล่ำปลีเป็นขยะอินทรีย์ที่มี ศักยภาพเพียงพอต่อการนำมาเป็นอาหาร สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยพิจารณาจากปริมาณที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ช่วงระยะเวลาที่มีผลผลิต และคุณค่าทางโภชนา แต่ทั้งนี้ปริมาณความชื้นของเศษกะหล่ำปลีมีค่อนข้างสูง (ร้อยละ 92.29) ทำให้เน่าเสียเร็ว เมื่อนำมาเลี้ยงสัตว์จะไม่สามารถเก็บไว้ใช้เป็นเวลานานได้ จึงต้องนำมาถนอมโดยการหมัก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาคุณค่าทางอาหารของขยะอินทรีย์ที่มีศักยภาพ เพียงพอต่อการนำมาเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งได้แก่ เศษกะหล่ำปลี เศษกะหล่ำดอก เศษผักกาดขาว เศษผักกาดหอม และเศษข้าวโพดฝักอ่อน ที่ได้จากการคัดทิ้ง และตัดแต่ง ภายในตลาดพืชผักผลไม้ศาลาลำดวน อำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว วิเคราะห์ความแปรปรวนของ องค์ประกอบทางเคมีตามแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ผลพบว่าวัตถุแห้ง (DM) ของ เศษกะหล่ำดอกมีค่าสูงที่สุด คือ ร้อยละ 12.42 ขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณโปรตีนรวม (CP) มีค่าสูงที่สุด ได้แก่ เศษ ผักกาดหอม (ร้อยละ 14.59) ขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณเยื่อใยรวม (CF) สูงที่สุดคือ ได้แก่ เศษข้าวโพดฝักอ่อน (ร้อยละ 22.53) และขยะอินทรีย์ที่มีปริมาณเยื่อใยผนังเซลล์ (NDF) และเยื่อใย ลิกโนเซลลูโลส (ADF) สูงที่สุด ได้แก่ เศษข้าวโพดฝักอ่อน (ร้อยละ 52.68 และ 24.65 ตามลำดับ) จากผลการทดลองพบว่าเศษกะหล่ำปลีเป็นขยะอินทรีย์ที่มี ศักยภาพเพียงพอต่อการนำมาเป็นอาหาร สัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยพิจารณาจากปริมาณที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ช่วงระยะเวลาที่มีผลผลิต และคุณค่าทางโภชนา แต่ทั้งนี้ปริมาณความชื้นของเศษกะหล่ำปลีมีค่อนข้างสูง (ร้อยละ 92.29) ทำให้เน่าเสียเร็ว เมื่อนำมาเลี้ยงสัตว์จะไม่สามารถเก็บไว้ใช้เป็นเวลานานได้ จึงต้องนำมาถนอมโดยการหมัก ผลของน้ำหมักชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์และผักสดที่เป็นส่วนเหลือทิ้งจากตลาดสด ต่อปริมาณจุลินทรีย์ ในภาชนะถังหมัก เป็นระยะเวลา 21 และ28 วัน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นและหาปริมาณจุลินทรีย์ จากน้ำหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักหญ้าเนเปียร์และเศษผักที่อายุการหมักต่างกัน โดยวางแผนการทดลองแบบ independent t-test แบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ซ้ำ กลุ่มที่ 1 หมักนาน 21 วัน กลุ่มที่ 2 หมักนาน 28 วัน จากผลการทดสอบของน้ำหมักที่อายุการหมัก 21 วัน และ อายุการหมัก 28 วัน พบว่ามีค่าความเป็นกรด-ด่าง เฉลี่ยเท่ากับ 4.11 และ 4.42 ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ในส่วนของ ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดของน้ำหมักที่อายุการหมัก 21 วัน และอายุการหมัก 28 วัน ทั้งสองตัวอย่างมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) คือ 22.5×106 และ 5.76×106 cfu/ml ตามลำดับ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นและหาปริมาณจุลินทรีย์ จากน้ำหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักหญ้าเนเปียร์และเศษผักที่อายุการหมักต่างกัน โดยวางแผนการทดลองแบบ independent t-test แบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ซ้ำ กลุ่มที่ 1 หมักนาน 21 วัน กลุ่มที่ 2 หมักนาน 28 วัน จากผลการทดสอบของน้ำหมักที่อายุการหมัก 21 วัน และ อายุการหมัก 28 วัน พบว่ามีค่าความเป็นกรด-ด่าง เฉลี่ยเท่ากับ 4.11 และ 4.42 ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ในส่วนของ ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดของน้ำหมักที่อายุการหมัก 21 วัน และอายุการหมัก 28 วัน ทั้งสองตัวอย่างมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) คือ 22.5×106 และ 5.76×106 cfu/ml ตามลำดับ ผลการเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิต ของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การศึกษาผลการเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทำการเลี้ยงไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมใบมะกอกน้ำในระดับต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้า100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่า การเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารไก่กระทง กลุ่มที่ 1 ใบมะกอกน้ำ 0 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 2 ใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ส่งไม่มีผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยมีน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลองที่ไม่มีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) การศึกษาผลการเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทำการเลี้ยงไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมใบมะกอกน้ำในระดับต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้า100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่า การเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารไก่กระทง กลุ่มที่ 1 ใบมะกอกน้ำ 0 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 2 ใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ส่งไม่มีผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยมีน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลองที่ไม่มีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ผลของการเกิด Wooden breast ในกล้ามเนื้ออกไก่ต่อค่าสีและเนื้อสัมผัสของเนื้อสด และเนื้อสุก | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเกิด Wooden Breast (WB) ในกล้ามเนื้ออกไก่ต่อค่าสีและเนื้อสัมผัสของเนื้อสด และเนื้อสุก โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) วิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance; ANOVA) ด้วยโปรแกรม SPSS และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยตามวิธี Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยใช้เนื้ออกไก่ทั้งหมด 75 ตัวอย่าง กลุ่มละ 25 ซ้ำ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เนื้อปกติ (Normal) กลุ่มที่ 2 การเกิด WB ระดับปานกลาง (Moderate) และ กลุ่มที่ 3 การเกิด WB ระดับรุนแรง (Severe) ผลการทดลองพบว่าการเกิด WB ในกล้ามเนื้ออกไก่สดต่อค่าสี มีผลทำให้สีของเนื้อเปลี่ยนแปลงไป โดยพบว่ามีค่าความสว่าง (L*) ของการเกิด WB ระดับรุนแรงและปานกลางมีความแตกต่างจากเนื้อปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้ค่าสีแดง (a*) และค่าสีเหลือง (b*) ของเนื้อ WB ระดับปานกลางและรุนแรงไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และเมื่อเปรียบเทียบการเกิด WB ในกล้ามเนื้ออกไก่สุกต่อค่าเนื้อสัมผัสไม่มีความแตกต่างกันจากเนื้อปกติ ในขณะที่เมื่อนำชิ้นเนื้อ WB ที่สุกมาทดสอบค่าแรงเฉือนพบว่ามีความแตกต่างจากเนื้อสดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) เพราะฉะนั้นผลของการเกิด WB มีผลทำให้ลักษณะภายนอก เช่น สีและความยืดหยุ่นของเนื้ออกไก่เปลี่ยนแปลงไปทำให้มีผลต่อคุณภาพเนื้อ และส่งผลต่อการยอมรับของผู้บริโภค งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเกิด Wooden Breast (WB) ในกล้ามเนื้ออกไก่ต่อค่าสีและเนื้อสัมผัสของเนื้อสด และเนื้อสุก โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) วิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance; ANOVA) ด้วยโปรแกรม SPSS และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยตามวิธี Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยใช้เนื้ออกไก่ทั้งหมด 75 ตัวอย่าง กลุ่มละ 25 ซ้ำ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เนื้อปกติ (Normal) กลุ่มที่ 2 การเกิด WB ระดับปานกลาง (Moderate) และ กลุ่มที่ 3 การเกิด WB ระดับรุนแรง (Severe) ผลการทดลองพบว่าการเกิด WB ในกล้ามเนื้ออกไก่สดต่อค่าสี มีผลทำให้สีของเนื้อเปลี่ยนแปลงไป โดยพบว่ามีค่าความสว่าง (L*) ของการเกิด WB ระดับรุนแรงและปานกลางมีความแตกต่างจากเนื้อปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้ค่าสีแดง (a*) และค่าสีเหลือง (b*) ของเนื้อ WB ระดับปานกลางและรุนแรงไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และเมื่อเปรียบเทียบการเกิด WB ในกล้ามเนื้ออกไก่สุกต่อค่าเนื้อสัมผัสไม่มีความแตกต่างกันจากเนื้อปกติ ในขณะที่เมื่อนำชิ้นเนื้อ WB ที่สุกมาทดสอบค่าแรงเฉือนพบว่ามีความแตกต่างจากเนื้อสดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) เพราะฉะนั้นผลของการเกิด WB มีผลทำให้ลักษณะภายนอก เช่น สีและความยืดหยุ่นของเนื้ออกไก่เปลี่ยนแปลงไปทำให้มีผลต่อคุณภาพเนื้อ และส่งผลต่อการยอมรับของผู้บริโภค ผลการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อคุณภาพเปลือกไข่และคุณภาพภายในของไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพเปลือกไข่และคุณภาพภายในของไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 120 ตัว อายุ 79 สัปดาห์ ออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมกวาวเครือขาวในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มควบคุมไม่เสริมกวาวเครือขาว กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมกวาวเครือขาวในระดับ 50, 100 ppm ตามลำดับ ระยะเวลาการทดลอง 84 วัน พบว่าอัตราการไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่ (62.27-62.59 กรัม), เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว (65.56-66.24), เปอร์เซ็นต์ไข่แดง (25.13-25.27), เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ (9.32-9.58), ค่าความถ่วงจำเพาะ (1.087-1.089), ความหนาเปลือกไข่ (0.346-0.355 มิลลิเมตร), สีไข่แดง (13.91-14.00), ดัชนีไข่แดง (45.18-46.15) และค่าฮอฟ์ยูนิต (77.32-79.91) ตลอดการทดลอง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) แต่มีแนวโน้มว่าเปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ของกลุ่มที่เสริมกวาวเครือขาว 100 ppm จะมากกว่ากลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพเปลือกไข่และคุณภาพภายในของไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 120 ตัว อายุ 79 สัปดาห์ ออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมกวาวเครือขาวในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มควบคุมไม่เสริมกวาวเครือขาว กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมกวาวเครือขาวในระดับ 50, 100 ppm ตามลำดับ ระยะเวลาการทดลอง 84 วัน พบว่าอัตราการไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่ (62.27-62.59 กรัม), เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว (65.56-66.24), เปอร์เซ็นต์ไข่แดง (25.13-25.27), เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ (9.32-9.58), ค่าความถ่วงจำเพาะ (1.087-1.089), ความหนาเปลือกไข่ (0.346-0.355 มิลลิเมตร), สีไข่แดง (13.91-14.00), ดัชนีไข่แดง (45.18-46.15) และค่าฮอฟ์ยูนิต (77.32-79.91) ตลอดการทดลอง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) แต่มีแนวโน้มว่าเปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ของกลุ่มที่เสริมกวาวเครือขาว 100 ppm จะมากกว่ากลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 เปรียบเทียบคุณภาพหญ้าหมักที่ทำจากหญ้าเนเปียร์สีม่วงและหญ้าเฮมิล | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคุณภาพของหญ้าหมัก ระหว่างหญ้าเนเปียร์สีม่วงและหญ้าเฮมิล โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ซ้ำ กลุ่มที่ 1 ได้แก่ หญ้าเนเปียร์สีม่วง และกลุ่มที่ 2 ได้แก่ หญ้าเฮมิล ตามลำดับ โดยทั้ง 2 กลุ่มมีระยะเวลาการ หมัก 29 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบ T-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยเก็บข้อมูล ค่า ความเป็นกรด – ด่าง และ ลักษณะทางกายภาพได้แก่ สี กลิ่น และเนื้อสัมผัส ผลทดลองพบว่า หญ้าเนเปียร์สีม่วงหมักมีคุณภาพหญ้าหมักดีกว่าหญ้าเฮมิล โดยเฉพาะความเป็นกรด – ด่าง อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคุณภาพของหญ้าหมัก ระหว่างหญ้าเนเปียร์สีม่วงและหญ้าเฮมิล โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ซ้ำ กลุ่มที่ 1 ได้แก่ หญ้าเนเปียร์สีม่วง และกลุ่มที่ 2 ได้แก่ หญ้าเฮมิล ตามลำดับ โดยทั้ง 2 กลุ่มมีระยะเวลาการ หมัก 29 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบ T-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยเก็บข้อมูล ค่า ความเป็นกรด – ด่าง และ ลักษณะทางกายภาพได้แก่ สี กลิ่น และเนื้อสัมผัส ผลทดลองพบว่า หญ้าเนเปียร์สีม่วงหมักมีคุณภาพหญ้าหมักดีกว่าหญ้าเฮมิล โดยเฉพาะความเป็นกรด – ด่าง อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การศึกษาคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองพันธุ์ตองหนึ่ง (111) ระหว่างเพศผู้และเพศเมีย | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองพันธุ์ตองหนึ่ง ระหว่างเพศผู้และเพศเมีย จำนวน 20 ตัว แบ่งเป็นเพศผู้ 10 ตัวและเพศเมีย 10 ตัว ผลการทดลองพบว่าไก่เพศผู้มีน้ำหนักตัว น้ำหนักซาก เปอร์เซ็นต์ปีก เปอร์เซ็นต์น่องสูงและเปอร์เซ็นต์เท้า สูงกว่าไก่เพศเมียอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ขณะที่เปอร์เซ็นต์อก เปอร์เซ็นต์สะโพก เปอร์เซ็นต์เครื่องในรวม และเปอร์เซ็นต์ซี่โครง ของไก่เพศผู้และเพศเมียไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p≥0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าเปอร์เซ็นต์ไขมันในช่องท้องของไก่เพศเมีย สูงกว่าไก่เพศผู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) สำหรับคุณภาพเนื้ออก พบว่าการสูญเสียน้ำขณะประกอบอาหารของไก่เพศผู้มีแนวโน้มสูงกว่า (p=0.07) ขณะที่การสูญเสียน้ำภายหลังจากการแช่เย็นและค่าแรงตัดผ่านเนื้อมีค่าไม่ต่างกัน ส่วนสีของเนื้อ พบว่า b* เพศเมียสูงกว่าไก่เพศผู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) มีค่าต่ำในไก่เพศผู้ (p<0.05) ขณะที่ค่า L* ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) และค่า a* ของไก่เพศเมียมีแนวโน้มสูงกว่าไก่เพศผู้ จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าไก่เพศผู้มีคุณภาพซากดีกว่าไก่เพศเมีย ส่วนคุณภาพเนื้อและคุณภาพสีไม่แตกต่างจากไก่เพศเมีย การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองพันธุ์ตองหนึ่ง ระหว่างเพศผู้และเพศเมีย จำนวน 20 ตัว แบ่งเป็นเพศผู้ 10 ตัวและเพศเมีย 10 ตัว ผลการทดลองพบว่าไก่เพศผู้มีน้ำหนักตัว น้ำหนักซาก เปอร์เซ็นต์ปีก เปอร์เซ็นต์น่องสูงและเปอร์เซ็นต์เท้า สูงกว่าไก่เพศเมียอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ขณะที่เปอร์เซ็นต์อก เปอร์เซ็นต์สะโพก เปอร์เซ็นต์เครื่องในรวม และเปอร์เซ็นต์ซี่โครง ของไก่เพศผู้และเพศเมียไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p≥0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าเปอร์เซ็นต์ไขมันในช่องท้องของไก่เพศเมีย สูงกว่าไก่เพศผู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.05) สำหรับคุณภาพเนื้ออก พบว่าการสูญเสียน้ำขณะประกอบอาหารของไก่เพศผู้มีแนวโน้มสูงกว่า (p=0.07) ขณะที่การสูญเสียน้ำภายหลังจากการแช่เย็นและค่าแรงตัดผ่านเนื้อมีค่าไม่ต่างกัน ส่วนสีของเนื้อ พบว่า b* เพศเมียสูงกว่าไก่เพศผู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) มีค่าต่ำในไก่เพศผู้ (p<0.05) ขณะที่ค่า L* ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) และค่า a* ของไก่เพศเมียมีแนวโน้มสูงกว่าไก่เพศผู้ จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าไก่เพศผู้มีคุณภาพซากดีกว่าไก่เพศเมีย ส่วนคุณภาพเนื้อและคุณภาพสีไม่แตกต่างจากไก่เพศเมีย ผลของการเสริมสารละลายแมกนีเซียมต่อคุณภาพซากของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การศึกษาผลของการเสริมสารละลายแมกนีเซียมต่อคุณภาพซากไก่กระทง พันธุ์ ROSS 308 เพศผู้ อายุ 1 วัน จำนวน 192 ตัว เลี้ยงในโรงเรือนเปิด ระยะเวลาในการทดลอง 36 วัน วางแผนการทดลองแบบ T-Test แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 2 ทรีทเมนต์ๆ 8 ซ้ำๆ คือกลุ่มควบคุม และกลุ่มเสริมแมกนีเซียม 10 มิลลิกรัมต่อน้ำ 1 ลิตร ได้รับอาหารเหมือนกัน ผลการทดลองพบว่า น้ำหนักมีชีวิตและเปอร์เซ็นต์ซาก ได้แก่ เนื้ออก สันใน สะโพก น่อง ปีกเต็ม แข้งเท้า โครง ของกลุ่มควบคุมและกลุ่มเสริมสารละลายแมกนีเซียมไม่มีความแตกกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นกลุ่มเสริมสารละลายแมกนีเซียมไม่ส่งผลต่อคุณภาพซากไก่กระทง การศึกษาผลของการเสริมสารละลายแมกนีเซียมต่อคุณภาพซากไก่กระทง พันธุ์ ROSS 308 เพศผู้ อายุ 1 วัน จำนวน 192 ตัว เลี้ยงในโรงเรือนเปิด ระยะเวลาในการทดลอง 36 วัน วางแผนการทดลองแบบ T-Test แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 2 ทรีทเมนต์ๆ 8 ซ้ำๆ คือกลุ่มควบคุม และกลุ่มเสริมแมกนีเซียม 10 มิลลิกรัมต่อน้ำ 1 ลิตร ได้รับอาหารเหมือนกัน ผลการทดลองพบว่า น้ำหนักมีชีวิตและเปอร์เซ็นต์ซาก ได้แก่ เนื้ออก สันใน สะโพก น่อง ปีกเต็ม แข้งเท้า โครง ของกลุ่มควบคุมและกลุ่มเสริมสารละลายแมกนีเซียมไม่มีความแตกกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นกลุ่มเสริมสารละลายแมกนีเซียมไม่ส่งผลต่อคุณภาพซากไก่กระทง ผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ โดยวางแผน การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว ระยะเวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเซลล์ยีสต์ 5% กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมยีสต์เซลล์แตก 2% ผลการทดลองปรากฏว่า น้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมเซลล์ยีสต์ 5% มีน้ำหนักมากกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมยีสต์เซลล์แตก 2% เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ และค่าความถ่วงจำเพาะของกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติมีแนวโน้มจะมีค่าต่ำที่สุด และค่าฮอกยูนิต เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว ดัชนีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ และสีไข่แดง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ 5% ในอาหารจะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ โดยวางแผน การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว ระยะเวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเซลล์ยีสต์ 5% กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมยีสต์เซลล์แตก 2% ผลการทดลองปรากฏว่า น้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมเซลล์ยีสต์ 5% มีน้ำหนักมากกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมยีสต์เซลล์แตก 2% เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ และค่าความถ่วงจำเพาะของกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติมีแนวโน้มจะมีค่าต่ำที่สุด และค่าฮอกยูนิต เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว ดัชนีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ และสีไข่แดง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ 5% ในอาหารจะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ ผลการเสริมเปลือกมังคุดในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตไข่ของไก่ไข่ที่ได้รับอาหารเสริมเปลือกมังคุดที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งไก่ลูกผสมทางการค้าสายพันธุ์โรมันบราวน์อายุ 31 สัปดาห์ จำนวน 160 ตัว เป็น 4 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.1 % กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.3 % และกลุ่มที่ 4 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.5 % ระยะเวลาทดลอง 84 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กินต่อตัวต่อวัน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม น้ำหนักไข่ มวลไข่ อัตราการเลี้ยงรอด และจำนวนไข่แต่ละขนาด มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นสามารถเสริมเปลือกมังคุดในอาหารไก่ไข่ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตไข่ของไก่ไข่ที่ได้รับอาหารเสริมเปลือกมังคุดที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งไก่ลูกผสมทางการค้าสายพันธุ์โรมันบราวน์อายุ 31 สัปดาห์ จำนวน 160 ตัว เป็น 4 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.1 % กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.3 % และกลุ่มที่ 4 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.5 % ระยะเวลาทดลอง 84 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กินต่อตัวต่อวัน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม น้ำหนักไข่ มวลไข่ อัตราการเลี้ยงรอด และจำนวนไข่แต่ละขนาด มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นสามารถเสริมเปลือกมังคุดในอาหารไก่ไข่ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ การเสริมวิตามินดีและแคลเซียมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเสริมวิตามินดีและแคลเซียมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์จำนวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว ให้อาหารทดลองดังนี้ กลุ่มที่ 1 ให้อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมวิตามินดี 3000 IU ต่ออาหาร 1กิโลกรัม และ กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกหอย 1.5 เปอร์เซ็นต์ ระยะการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลางในแต่ละช่วงอายุและตลอดการทดลอง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)การทดลองในช่วงอายุ 85-88 สัปดาห์ พบว่า อัตราการไข่ สีไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ และไข่ขนาดเล็กแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05) ความหนาเปลือกไข่(P=0.09)และความถ่วงจำเพาะ(P=0.10)ในกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มดีกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ ช่วงอายุที่ 89-92 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงและดัชนีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) และช่วงอายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05)ผลการทดลองตลอดอายุการเลี้ยง(85-96สัปดาห์) พบว่า สีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและแคลเซียมมีสีไข่แดงเข้มกว่ากลุ่มที่ให้อาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มจะมีดัชนีไข่แดงมากกว่ากลุ่มอื่นๆและกลุ่มที่เสริมวิตามินดีมีแนวโน้มจะมีไข่ขนาดใหญ่พิเศษมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้นสามารถเสริมวิตามินดี และแคลเซียมในระดับที่ทดลองในอาหารไก่ระยะปลดไข่ได้โดยไม่มีผลเสียต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่และมีแนวโน้มจะช่วยปรับปรุงคุณภาพเปลือกไข่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเสริมวิตามินดีและแคลเซียมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์จำนวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว ให้อาหารทดลองดังนี้ กลุ่มที่ 1 ให้อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมวิตามินดี 3000 IU ต่ออาหาร 1กิโลกรัม และ กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกหอย 1.5 เปอร์เซ็นต์ ระยะการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลางในแต่ละช่วงอายุและตลอดการทดลอง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)การทดลองในช่วงอายุ 85-88 สัปดาห์ พบว่า อัตราการไข่ สีไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ และไข่ขนาดเล็กแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05) ความหนาเปลือกไข่(P=0.09)และความถ่วงจำเพาะ(P=0.10)ในกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มดีกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ ช่วงอายุที่ 89-92 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงและดัชนีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) และช่วงอายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05)ผลการทดลองตลอดอายุการเลี้ยง(85-96สัปดาห์) พบว่า สีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและแคลเซียมมีสีไข่แดงเข้มกว่ากลุ่มที่ให้อาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มจะมีดัชนีไข่แดงมากกว่ากลุ่มอื่นๆและกลุ่มที่เสริมวิตามินดีมีแนวโน้มจะมีไข่ขนาดใหญ่พิเศษมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้นสามารถเสริมวิตามินดี และแคลเซียมในระดับที่ทดลองในอาหารไก่ระยะปลดไข่ได้โดยไม่มีผลเสียต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่และมีแนวโน้มจะช่วยปรับปรุงคุณภาพเปลือกไข่ ผลการเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การทดลองเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่เพื่อเป็นแหล่งสารเสริมต่อคุณภาพไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว 3 กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% และกลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% พบว่าค่าฮอกยูนิตของกลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมยีสต์สกัด มีความแตกต่างทางสถิติกับกลุ่มทดลองที่ได้รับกลุ่มทดลองที่ได้รับอาหารปกติและอาหารที่เสริมเบต้ากลูแคน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยมีค่าเท่ากับ 87.59, 84.58 และ 83.25ตามลำดับ แต่น้ำหนักไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ ดัชนีไข่แดง สีไข่แดง ความถ่วงจำเพาะ และความหนาเปลือกไข่ ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) การทดลองเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่เพื่อเป็นแหล่งสารเสริมต่อคุณภาพไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว 3 กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% และกลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% พบว่าค่าฮอกยูนิตของกลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมยีสต์สกัด มีความแตกต่างทางสถิติกับกลุ่มทดลองที่ได้รับกลุ่มทดลองที่ได้รับอาหารปกติและอาหารที่เสริมเบต้ากลูแคน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยมีค่าเท่ากับ 87.59, 84.58 และ 83.25ตามลำดับ แต่น้ำหนักไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ ดัชนีไข่แดง สีไข่แดง ความถ่วงจำเพาะ และความหนาเปลือกไข่ ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) คุณภาพหญ้าเนเปียร์สีม่วงและหญ้าเนปียร์ปากช่อง 1 หมักร่วมกับใบกระถินสด | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ หญ้าเนเปียร์ เป็นหญ้าเขตร้อนที่นิยมปลูกทั่วไปในประเทศไทย แต่เมื่อถึงฤดูแล้งพืชอาหารสัตว์คุณภาพดีจะหาได้ยากโดยเฉพาะหญ้าสดทั้งปริมาณและคุณภาพ เกษตรกรจึงต้องมีการถนอมพืชอาหารสัตว์ในช่วงฤดูฝนโดยเฉพาะการทาหญ้าแห้งและหมักสาหรับไว้ใช้ในฤดูแล้ง หญ้าเนเปียร์และกระถิน จัดเป็นพืชอาหารสัตว์ที่นิยมนามาหมักและใช้เป็นแหล่งโปรตีนหลักสาหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคุณภาพพืชหมักระหว่างหญ้าเนเปียร์สองสายพันธุ์ คือ เนเปียร์สีม่วง และเนเปียร์ปากช่อง 1 โดยการเสริมกระถิน โดยแบ่งกลุ่มทดลองเป็นสองกลุ่มตามพันธุ์หญ้า คือ หญ้าเนเปียร์สีม่วง และหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 โดยจัดเป็นกลุ่มที่ 1 และ 2 ตามลาดับ โดยทั้งสองกลุ่มมีการใส่ใบกระถินสดและกากน้าตาล โดยมีระยะเวลาการหมัก 21 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบ t-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการทดลองพบว่า หญ้าเนเปียร์สีม่วงหมัก มีคุณภาพหญ้าหมักดีกว่าหญ้าเนเปียร์ปากช่อง โดยเฉพาะ ค่าความเป็นกรดด่าง – ด่าง ปริมาณกรดแลคติค รวมทั้งกรดอินทรีย์อื่น ๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) หญ้าเนเปียร์ เป็นหญ้าเขตร้อนที่นิยมปลูกทั่วไปในประเทศไทย แต่เมื่อถึงฤดูแล้งพืชอาหารสัตว์คุณภาพดีจะหาได้ยากโดยเฉพาะหญ้าสดทั้งปริมาณและคุณภาพ เกษตรกรจึงต้องมีการถนอมพืชอาหารสัตว์ในช่วงฤดูฝนโดยเฉพาะการทาหญ้าแห้งและหมักสาหรับไว้ใช้ในฤดูแล้ง หญ้าเนเปียร์และกระถิน จัดเป็นพืชอาหารสัตว์ที่นิยมนามาหมักและใช้เป็นแหล่งโปรตีนหลักสาหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคุณภาพพืชหมักระหว่างหญ้าเนเปียร์สองสายพันธุ์ คือ เนเปียร์สีม่วง และเนเปียร์ปากช่อง 1 โดยการเสริมกระถิน โดยแบ่งกลุ่มทดลองเป็นสองกลุ่มตามพันธุ์หญ้า คือ หญ้าเนเปียร์สีม่วง และหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 โดยจัดเป็นกลุ่มที่ 1 และ 2 ตามลาดับ โดยทั้งสองกลุ่มมีการใส่ใบกระถินสดและกากน้าตาล โดยมีระยะเวลาการหมัก 21 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบ t-test ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการทดลองพบว่า หญ้าเนเปียร์สีม่วงหมัก มีคุณภาพหญ้าหมักดีกว่าหญ้าเนเปียร์ปากช่อง โดยเฉพาะ ค่าความเป็นกรดด่าง – ด่าง ปริมาณกรดแลคติค รวมทั้งกรดอินทรีย์อื่น ๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) เปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมีระหว่างถั่วผีและถั่วฮามาต้า | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ ในการศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมีระหว่างถั่วผี ที่อายุการ ตัด 70 วัน และถั่วฮามาต้า ที่อายุการตัด 63 วัน การวางแผนการทดลองแบบการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของ 2 ประชากร (T-test) คือ กลุ่มของถั่วผี และกลุ่มถั่วฮามาต้า นำต้นถั่วทั้งสองมาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ โปรตีนหยาบ และเยื่อใย ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบ พบว่า ถั่วผี ที่อายุการตัด 70 วัน และถั่วฮามาต้า ที่อายุการตัด 63 วัน มีค่าโปรตีนหยาบ เท่ากับ 18.76 เปอร์เซ็นต์ และ 22.75 เปอร์เซ็นต์ ค่า NDF เท่ากับ 51.78 เปอร์เซ็นต์ และ 49.10 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ในการศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมีระหว่างถั่วผี ที่อายุการ ตัด 70 วัน และถั่วฮามาต้า ที่อายุการตัด 63 วัน การวางแผนการทดลองแบบการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของ 2 ประชากร (T-test) คือ กลุ่มของถั่วผี และกลุ่มถั่วฮามาต้า นำต้นถั่วทั้งสองมาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ โปรตีนหยาบ และเยื่อใย ผลการวิเคราะห์การเปรียบเทียบ พบว่า ถั่วผี ที่อายุการตัด 70 วัน และถั่วฮามาต้า ที่อายุการตัด 63 วัน มีค่าโปรตีนหยาบ เท่ากับ 18.76 เปอร์เซ็นต์ และ 22.75 เปอร์เซ็นต์ ค่า NDF เท่ากับ 51.78 เปอร์เซ็นต์ และ 49.10 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การใช้มูลโคเนื้อและโคนมเป็นวัสดุเลี้ยงต่อสมรรถภาพการผลิตของไส้เดือนดิน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ดินแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 5 กลุ่มทดลอง และแต่ละกลุ่มทดลองแบ่งเป็น 4 ซ้า แต่ละซ้าเลี้ยงไส้เดือนจานวน 10 ตัวรวมทั้งหมด 200 ตัว โดยใช้วัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินมีอัตราส่วนร้อยละโดยปริมาตรที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุมใช้มูลโคเนื้อต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 50:50 กลุ่มที่ 2-5 ใช้มูลโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วนที่ต่างกันตามลาดับ ดังนี้ 45:55 40:60 55:45 และ 60:40 จากการศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงต่อสมรรถภาพการผลิตของไส้เดือนดิน พบว่ามีอัตราคงอยู่และน้าหนักตัวที่ลดลงของไส้เดือนทุกกลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P> 0.05) เมื่อพิจารณาระหว่างการทดลองพบว่า กลุ่มที่ใช้วัสดุเลี้ยงโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 60:40 มีน้าหนักตัวสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P <0.05) ส่วนอัตราการคงอยู่เมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่แตกต่าง (P > 0.05) อัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวที่ทาให้น้าหนักตัวของไส้เดือนดินมีน้าหนักตัวลดลงตลอดการทดลองคืออัตราส่วน 50:50 45:55 และ 40:60 แต่อัตราส่วน 60:40 จะมีน้าหนักตัวที่ลดลงน้อยที่สุด จากการทดลองอัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินดีที่สุด เท่ากับ 60:40 ซึ่งเหมาะสาหรับการนาไปเลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์ที่เหมาะสมต่อสมรรถภาพการผลิตปุ๋ยดีที่สุด และยังเหมาะสมต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตของไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ดินแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 5 กลุ่มทดลอง และแต่ละกลุ่มทดลองแบ่งเป็น 4 ซ้า แต่ละซ้าเลี้ยงไส้เดือนจานวน 10 ตัวรวมทั้งหมด 200 ตัว โดยใช้วัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินมีอัตราส่วนร้อยละโดยปริมาตรที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุมใช้มูลโคเนื้อต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 50:50 กลุ่มที่ 2-5 ใช้มูลโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วนที่ต่างกันตามลาดับ ดังนี้ 45:55 40:60 55:45 และ 60:40 จากการศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงต่อสมรรถภาพการผลิตของไส้เดือนดิน พบว่ามีอัตราคงอยู่และน้าหนักตัวที่ลดลงของไส้เดือนทุกกลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P> 0.05) เมื่อพิจารณาระหว่างการทดลองพบว่า กลุ่มที่ใช้วัสดุเลี้ยงโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 60:40 มีน้าหนักตัวสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P <0.05) ส่วนอัตราการคงอยู่เมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่แตกต่าง (P > 0.05) อัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวที่ทาให้น้าหนักตัวของไส้เดือนดินมีน้าหนักตัวลดลงตลอดการทดลองคืออัตราส่วน 50:50 45:55 และ 40:60 แต่อัตราส่วน 60:40 จะมีน้าหนักตัวที่ลดลงน้อยที่สุด จากการทดลองอัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินดีที่สุด เท่ากับ 60:40 ซึ่งเหมาะสาหรับการนาไปเลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์ที่เหมาะสมต่อสมรรถภาพการผลิตปุ๋ยดีที่สุด และยังเหมาะสมต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตของไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae การเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิล (Silybum marianum) ในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จานวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 8 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ทางการค้าที่เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเซิล 60 ppm และ 150 ppm พบว่า น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการไข่ อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจาเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง และขนาดไข่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) (P>0.05) (P>0.05) ในทุกช่วงอายุและตลอดการทดลอง แต่ที่อายุ 89-92 สัปดาห์พบว่า ดัชนีไข่แดง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) สีไข่แดง มีแนวโน้มจะแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.06) และที่อายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่าค่าความถ่วงจาเพาะ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นสามารถเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดระวาง โดยไม่มีผลเสีย ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จานวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 8 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ทางการค้าที่เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเซิล 60 ppm และ 150 ppm พบว่า น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการไข่ อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจาเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง และขนาดไข่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) (P>0.05) (P>0.05) ในทุกช่วงอายุและตลอดการทดลอง แต่ที่อายุ 89-92 สัปดาห์พบว่า ดัชนีไข่แดง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) สีไข่แดง มีแนวโน้มจะแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.06) และที่อายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่าค่าความถ่วงจาเพาะ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นสามารถเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดระวาง โดยไม่มีผลเสีย ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ เปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนะระหว่างคุกกี้กระต่ายสองสูตรที่ทำจากหญ้าแพงโกล่า | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ จากการเปรียบเทียบคุณค่าโภชนาการอาหารเสริมสำหรับกระต่ายที่ขึ้นรูปโดยใช้หญ้าแพงโกล่าแห้งผสมกับกล้วยน้ำว้าสุกกับกล้วยหอมสุก โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ โดยใช้หญ้าแพงโกล่าแห้งบดผสมกับกล้วยน้ำว้าสุก และหญ้าแพงโกล่าแห้งบดผสมกับกล้วยหอมสุก รวมทั้งหมด 8 หน่วย โดยการนำหญ้าแพงโกล่าแห้งมาบดให้ละเอียดผสมกับกล้วยน้ำว้าสุก และหญ้าแพงโกล่าแห้งผสมกับกล้วยหอมสุก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ คุณค่าโภชนาการที่เหมาะสม ในการทำอาหารเสริมสำหรับกระต่าย จากการศึกษาพบว่า การทดลองทั้ง 2 กลุ่ม พบว่าสูตรที่ 1 ความชื้น 87.18, โปรตีน 5.34, ไขมัน 0.30, เยื่อใย 20.21 และสูตรที่ 2 ความชื้น 89.06, โปรตีน 6.92, ไขมัน 0.37, เยื่อใย 25.77 โดยอาหารเสริมทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณความชื้น ไขมัน และเยื่อใย ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p ≥ 0.05 ) แต่สูตรที่ 1 หญ้าแพงโกล่ากล้วยน้ำว้า มีปริมาณของโปรตีนน้อยกว่าสูตรที่ 2 หญ้าแพงโกล่ากล้วยหอม ซึ่งมีปริมาณของโปรตีนที่ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p ≤ 0.05 ) จากการเปรียบเทียบคุณค่าโภชนาการอาหารเสริมสำหรับกระต่ายที่ขึ้นรูปโดยใช้หญ้าแพงโกล่าแห้งผสมกับกล้วยน้ำว้าสุกกับกล้วยหอมสุก โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ โดยใช้หญ้าแพงโกล่าแห้งบดผสมกับกล้วยน้ำว้าสุก และหญ้าแพงโกล่าแห้งบดผสมกับกล้วยหอมสุก รวมทั้งหมด 8 หน่วย โดยการนำหญ้าแพงโกล่าแห้งมาบดให้ละเอียดผสมกับกล้วยน้ำว้าสุก และหญ้าแพงโกล่าแห้งผสมกับกล้วยหอมสุก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ คุณค่าโภชนาการที่เหมาะสม ในการทำอาหารเสริมสำหรับกระต่าย จากการศึกษาพบว่า การทดลองทั้ง 2 กลุ่ม พบว่าสูตรที่ 1 ความชื้น 87.18, โปรตีน 5.34, ไขมัน 0.30, เยื่อใย 20.21 และสูตรที่ 2 ความชื้น 89.06, โปรตีน 6.92, ไขมัน 0.37, เยื่อใย 25.77 โดยอาหารเสริมทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณความชื้น ไขมัน และเยื่อใย ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p ≥ 0.05 ) แต่สูตรที่ 1 หญ้าแพงโกล่ากล้วยน้ำว้า มีปริมาณของโปรตีนน้อยกว่าสูตรที่ 2 หญ้าแพงโกล่ากล้วยหอม ซึ่งมีปริมาณของโปรตีนที่ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( p ≤ 0.05 ) ผลการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงที่ใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้น โดยใช้ไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จานวน 120 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ทาการทดลองโดยสุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่าการใช้วัสดุรองพื้นกลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นวัสดุรองพื้นไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงโดยไก่กระทงทุกกลุ่มมีน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและอัตราการตายตลอดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงที่ใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้น โดยใช้ไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จานวน 120 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ทาการทดลองโดยสุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่าการใช้วัสดุรองพื้นกลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นวัสดุรองพื้นไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงโดยไก่กระทงทุกกลุ่มมีน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและอัตราการตายตลอดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) ผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมเซลล์ยีสต์และยีสต์เซลล์แตก เพื่อเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ใช้ไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 150 ตัว อายุ 28 สัปดาห์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ 3 เสริม เซลล์ยีสต์ 5% และ ยีสต์เซลล์แตก 2% ในอาหาร ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ พบว่าปริมาณอาหารที่กิน อัตราการไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการรอดชีวิต ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล ไข่ขนาดกลางและไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ประสิทธิภาพการใช้อาหารมีแนวโน้มจะมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.10) แต่น้ำหนักไข่ มวลไข่ และไข่ขนาดใหญ่ในกลุ่มที่ได้รับเซลล์ยีสต์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับยีสต์เซลล์แตก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ที่ระดับ 5% ในอาหารไก่ไข่จะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ มวลไข่ และจำนวนไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมเซลล์ยีสต์และยีสต์เซลล์แตก เพื่อเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ใช้ไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 150 ตัว อายุ 28 สัปดาห์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ 3 เสริม เซลล์ยีสต์ 5% และ ยีสต์เซลล์แตก 2% ในอาหาร ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ พบว่าปริมาณอาหารที่กิน อัตราการไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการรอดชีวิต ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล ไข่ขนาดกลางและไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ประสิทธิภาพการใช้อาหารมีแนวโน้มจะมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.10) แต่น้ำหนักไข่ มวลไข่ และไข่ขนาดใหญ่ในกลุ่มที่ได้รับเซลล์ยีสต์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับยีสต์เซลล์แตก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ที่ระดับ 5% ในอาหารไก่ไข่จะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ มวลไข่ และจำนวนไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น ผลการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อคุณภาพซากไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ ผลการศึกษาการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อคุณภาพซากของไก่กระทงทำการทดลองในไก่กระทงพันธุ์ ROSS 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 วัน ถึง 42 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว สุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ กลุ่มที่ 2 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 25 กลุ่มที่ 3 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 50 ได้รับ ใช้เลี้ยงไก่ทั้งสิ้น 42 วัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองทำการสุ่มไก่กระทงเพศเมียมาซ้ำละ 2 ตัว รวมจำนวนทั้งสิ้น 24 ตัว เพื่อศึกษาคุณภาพซาก ผลการทดลองพบว่าคุณภาพซากของไก่กระทงทุกกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน โดยมีค่าเฉลี่ยของน้ำหนักซาก เปอร์เซ็นต์ซาก และชิ้นส่วนต่างๆ ของซาก (คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ซากของน้ำหนักมีชีวิต) ได้แก่ ปีก เนื้ออกนอก เนื้ออกใน สะโพกและน่อง ขา หัวใจ และตับ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นวัสดุรองพื้นทั้ง 3 กลุ่มไม่ส่งผลต่อคุณภาพซากของไก่กระทง (P>0.05) ผลการศึกษาการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อคุณภาพซากของไก่กระทงทำการทดลองในไก่กระทงพันธุ์ ROSS 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 วัน ถึง 42 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว สุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ กลุ่มที่ 2 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 25 กลุ่มที่ 3 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 50 ได้รับ ใช้เลี้ยงไก่ทั้งสิ้น 42 วัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองทำการสุ่มไก่กระทงเพศเมียมาซ้ำละ 2 ตัว รวมจำนวนทั้งสิ้น 24 ตัว เพื่อศึกษาคุณภาพซาก ผลการทดลองพบว่าคุณภาพซากของไก่กระทงทุกกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน โดยมีค่าเฉลี่ยของน้ำหนักซาก เปอร์เซ็นต์ซาก และชิ้นส่วนต่างๆ ของซาก (คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ซากของน้ำหนักมีชีวิต) ได้แก่ ปีก เนื้ออกนอก เนื้ออกใน สะโพกและน่อง ขา หัวใจ และตับ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นวัสดุรองพื้นทั้ง 3 กลุ่มไม่ส่งผลต่อคุณภาพซากของไก่กระทง (P>0.05) การเปรียบเทียบคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองสายพันธุ์การค้าและไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ตองหนึ่ง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การเปรียบเทียบคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองสายพันธุ์การค้าและไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ตองหนึ่ง ทำการทดลองในไก่เพศผู้ จำนวน 20 ตัว สายพันธุ์ละ 10 ตัว โดยวางแผนการทดลองแบบ T-test for Independent Sample ( T-test ) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ไก่พื้นเมืองสายพันธุ์การค้า และกลุ่มที่ 2 ไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ตองหนึ่ง ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยน้ำหนักรวม เปอร์เซ็นต์อก ปีกรวม และสะโพก ของไก่พันธุ์พื้นเมืองทางการค้าและพันธุ์ตองหนึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P≤0.05) ส่วนเปอร์เซ็นต์น่อง เท้า ซี่โครง ไขมันในช่องท้อง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ผลของคุณภาพสี พบว่า ค่าสี L* ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่ค่าสี a* และค่า b* แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในส่วนของคุณภาพเนื้อ พบว่า เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำจากการแช่เย็น การสูญเสียน้ำจากการแช่แข็ง ค่าแรงตัดผ่านชิ้นเนื้อ มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ขณะที่พันธุ์ตองหนึ่งมีแนวโน้มการสูญเสียน้ำจากการต้มสุกมากกว่าพันธุ์พื้นเมืองทางการค้า ดังนั้นจากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่า ไก่พื้นเมืองพันธุ์ตองหนึ่งมีคุณภาพซากชิ้นส่วนสำคัญภายในดีกว่าพันธุ์พื้นเมืองทางการค้าถึงแม้ว่าจะมีน้ำหนัก การเปรียบเทียบคุณภาพซากและคุณภาพเนื้อของไก่พื้นเมืองสายพันธุ์การค้าและไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ตองหนึ่ง ทำการทดลองในไก่เพศผู้ จำนวน 20 ตัว สายพันธุ์ละ 10 ตัว โดยวางแผนการทดลองแบบ T-test for Independent Sample ( T-test ) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ไก่พื้นเมืองสายพันธุ์การค้า และกลุ่มที่ 2 ไก่พื้นเมืองสายพันธุ์ตองหนึ่ง ผลการศึกษา พบว่า ค่าเฉลี่ยน้ำหนักรวม เปอร์เซ็นต์อก ปีกรวม และสะโพก ของไก่พันธุ์พื้นเมืองทางการค้าและพันธุ์ตองหนึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P≤0.05) ส่วนเปอร์เซ็นต์น่อง เท้า ซี่โครง ไขมันในช่องท้อง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ผลของคุณภาพสี พบว่า ค่าสี L* ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่ค่าสี a* และค่า b* แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในส่วนของคุณภาพเนื้อ พบว่า เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำจากการแช่เย็น การสูญเสียน้ำจากการแช่แข็ง ค่าแรงตัดผ่านชิ้นเนื้อ มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ขณะที่พันธุ์ตองหนึ่งมีแนวโน้มการสูญเสียน้ำจากการต้มสุกมากกว่าพันธุ์พื้นเมืองทางการค้า ดังนั้นจากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่า ไก่พื้นเมืองพันธุ์ตองหนึ่งมีคุณภาพซากชิ้นส่วนสำคัญภายในดีกว่าพันธุ์พื้นเมืองทางการค้าถึงแม้ว่าจะมีน้ำหนัก ผลการเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาผลการใช้ยีสต์สกัด และเบต้ากลูแคนเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% เก็บข้อมูล 6 ช่วง ช่วงละ 14 วัน พบว่าอัตราการไข่ น้ำหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง และไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการใช้ยีสต์สกัดในระดับ 0.25% และเบต้ากลูแคนในระดับ 0.05% เป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่จึงไม่มีผลเสียอย่างไรต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาผลการใช้ยีสต์สกัด และเบต้ากลูแคนเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% เก็บข้อมูล 6 ช่วง ช่วงละ 14 วัน พบว่าอัตราการไข่ น้ำหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง และไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการใช้ยีสต์สกัดในระดับ 0.25% และเบต้ากลูแคนในระดับ 0.05% เป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่จึงไม่มีผลเสียอย่างไรต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ ผลของการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ภายนอก | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ภายนอกของแม่ไก่ระยะปลดไข่ที่ได้รับอาหารเสริมกวาวเครือขาวที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 4 ซ้ำๆ ละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 120 ตัว กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 50 ppm และกลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 100 ppm เก็บข้อมูล 3 ช่วงๆ ละ 28 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า ผลผลิตไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่เฉลี่ย (62.27-62.59 กรัม), ปริมาณอาหารที่กิน (107.91-114.43 กรัม), ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม (2.29-2.48 ), น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง (0.18-0.48 กรัม), อัตราการรอดชีวิต (97.32-99.17%), ดัชนีรูปทรง (74.15-75.14%), ความหนาของเปลือกไข่ (0.345-0.347 มิลลิเมตร), ค่าสีเปลือกไข่ (L*)(83.10-85.05), (a*)(15.35-16.03), (b*)(39.46-41.41), และขนาดไข่ ซึ่งได้แก่ไข่ขนาดใหญ่ (72.81-81.57%), ขนาดกลาง (18.42-24.51%) และขนาดเล็ก (0.00-0.96%) ตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ภายนอกของแม่ไก่ระยะปลดไข่ที่ได้รับอาหารเสริมกวาวเครือขาวที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 4 ซ้ำๆ ละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 120 ตัว กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 50 ppm และกลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 100 ppm เก็บข้อมูล 3 ช่วงๆ ละ 28 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า ผลผลิตไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่เฉลี่ย (62.27-62.59 กรัม), ปริมาณอาหารที่กิน (107.91-114.43 กรัม), ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม (2.29-2.48 ), น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง (0.18-0.48 กรัม), อัตราการรอดชีวิต (97.32-99.17%), ดัชนีรูปทรง (74.15-75.14%), ความหนาของเปลือกไข่ (0.345-0.347 มิลลิเมตร), ค่าสีเปลือกไข่ (L*)(83.10-85.05), (a*)(15.35-16.03), (b*)(39.46-41.41), และขนาดไข่ ซึ่งได้แก่ไข่ขนาดใหญ่ (72.81-81.57%), ขนาดกลาง (18.42-24.51%) และขนาดเล็ก (0.00-0.96%) ตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) การเสริมเปลือกหอยในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เปลือกหอยนางรมป่นเป็นแหล่งแคลเซียมเสริมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้า พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 80 ตัว ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมเปลือกหอยป่นในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ (กลุ่มควบคุม;ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.3 %) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกหอยนางรมป่น (ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.7%) ระยะเวลาการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูล 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ น้ำหนักไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ดัชนีรูปทรงไข่ ดัชนีไข่แดง เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจำเพาะ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ในช่วงการทดลองที่ 1 พบว่าปริมาณอาหารที่กิน (102.03กรัม, 109.38 กรัม) และอัตราการให้ผลผลิตไข่ (67.67%, 81.51%) ในกลุ่มที่ 1 และ 2 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ช่วงการทดลองที่ 2 พบว่าอัตราการให้ผลผลิตไข่ (73.09%, 81.33%) ของกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มมากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.08) อัตราการให้ผลผลิตไข่ (70.14%, 80.41%) และค่า Haugh unit (79.90, 76.23) ช่วงตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ขนาดไข่ในกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มว่าจะมีไข่ขนาดใหญ่มากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.09) ดังนั้นการเสริมเปลือกหอยเพื่อเป็นแหล่งแคลเซียมในอาหารไก่ระยะปลดไข่ให้ได้ในระดับ 3.7 % จะช่วยเพิ่มอัตราการให้ไข่และอาจทำให้ได้ไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เปลือกหอยนางรมป่นเป็นแหล่งแคลเซียมเสริมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้า พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 80 ตัว ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมเปลือกหอยป่นในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ (กลุ่มควบคุม;ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.3 %) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกหอยนางรมป่น (ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.7%) ระยะเวลาการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูล 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ น้ำหนักไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ดัชนีรูปทรงไข่ ดัชนีไข่แดง เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจำเพาะ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ในช่วงการทดลองที่ 1 พบว่าปริมาณอาหารที่กิน (102.03กรัม, 109.38 กรัม) และอัตราการให้ผลผลิตไข่ (67.67%, 81.51%) ในกลุ่มที่ 1 และ 2 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ช่วงการทดลองที่ 2 พบว่าอัตราการให้ผลผลิตไข่ (73.09%, 81.33%) ของกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มมากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.08) อัตราการให้ผลผลิตไข่ (70.14%, 80.41%) และค่า Haugh unit (79.90, 76.23) ช่วงตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ขนาดไข่ในกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มว่าจะมีไข่ขนาดใหญ่มากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.09) ดังนั้นการเสริมเปลือกหอยเพื่อเป็นแหล่งแคลเซียมในอาหารไก่ระยะปลดไข่ให้ได้ในระดับ 3.7 % จะช่วยเพิ่มอัตราการให้ไข่และอาจทำให้ได้ไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น การศึกษาการใช้มันเทศสีม่วงและฟักทองสำหรับทำคุกกี้กระต่าย | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุกกี้กระต่าย 2 สูตร สำหรับใช้ในการทำคุกกี้กระต่าย โดยแบ่งกลุ่มการทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 มันเทศสีม่วงผสมหญ้าเนเปียร์ และกลุ่มที่ 2 ฟักทองผสมหญ้าเนเปียร์ ข้อมูลที่ศึกษาได้แก่ องค์ประกอบทางโภชนะและความน่ากินซึ่งทดสอบเบื้องต้นโดยให้กระต่ายเลือกกิน ผลการศึกษาพบว่าวัตถุแห้ง โปรตีนหยาบ เยื่อใยรวม เถ้าและคาร์โบไฮเดรต ของมันเทศสีม่วงและฟักทองมีความแตกกันทางสถิติ (P<0.05) ส่วนไขมันรวมไม่มีความแตกกันทางสถิติ (P>0.05) สำหรับความน่ากินของคุกกี้ พบว่า กระต่ายชอบคุกกี้ที่มีส่วนผสมของมันเทศสีม่วงมากกว่า ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสี กลิ่นและเนื้อสัมผัสที่น่ากินมากกว่าคุกกี้ฟักทอง ซึ่งการศึกษาในอนาคตอาจจะเน้นเก็บข้อมูลด้านสัตว์ทดลองให้ละเอียดและวิเคราะห์โภชนะที่จำเป็นสำหรับกระต่ายมากขึ้น
การประยุกต์ใช้ข้าวไรซ์เบอร์รี่แทนแป้งข้าวโพดในลูกชิ้นอกไก่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การประยุกต์ใช้ข้าวไรซ์เบอร์รี่แทนแป้งข้าวโพดในลูกชิ้นอกไก่ โดยศึกษาปริมาณแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่ในลูกชิ้นอกไก่ 5 ระดับ ได้แก่ 0, 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ของแป้งข้าวโพด โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design, CRD จากผลการทดลองพบว่าผลการทดสอบแรงตัดผ่านเนื้อสัมผัสที่ การใช้แป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่ระดับ 50 เปอร์เซ็นต์ มีค่าแรงตัดผ่านเนื้อสัมผัสสูงกว่ากลุ่มอื่นๆอยู่ที่ 16.79 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ที่อายุการเก็บรักษาที่ 1 วัน และเมื่อทดสอบแรงตัดผ่านเนื้อสัมผัสที่อายุการเก็บรักษาที่ 3, 5 และ 8 วัน การใช้แป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่ระดับ 25 เปอร์เซ็นต์ มีค่าแรงตัดผ่านเนื้อสัมผัสสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ อยู่ที่ 15.81, 15.85 และ 15.41 ตามลำดับ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้ผลของแป้งข้าวไรซ์เบอร์รี่ทั้ง 5 ระดับ ต่อสีของลูกชิ้นอกไก่ที่อายุการเก็บรักษา 1, 3, 5 และ 8 วัน พบว่าเมื่อเพิ่มปริมาณข้าวไรซ์เบอร์รี่ตามลำดับ ค่าความสว่าง (L*) มีค่าลดลง ค่าสีแดง (a*) มีค่าเพิ่มขึ้น และค่าสีเหลือง (b*) มีค่าลดลงแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) วัน ดังนั้นการใช้ข้าวไรซ์เบอร์รี่จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับการทำลูกชิ้นอกไก่ เหมาะแก่ผู้ที่รักสุขภาพเพราะจะได้รับประโยชน์จากข้าวไรซ์เบอร์รี่ และนอกจากนั้นยังได้รับโปรตีนจากอกไก่
ผลของอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่มและอุณหภูมิซากต่อค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) และคุณภาพเนื้อของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
ศึกษาผลของอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่มและอุณหภูมิซากต่อค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) และคุณภาพเนื้อของไก่กระทง ใช้ไก่กระทงพันธุ์ ROSS 308 ที่อายุ 45 วัน จำนวน 128 ตัว โดยมีการสุ่มด้วยวิธี Completely Randomized Design (CRD) การทดลองแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว (ทั้งหมด 128 ตัว) โดยกลุ่มที่ 1 ไม่เสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในน้ำ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 เสริมสารละลาย อิเล็กโทรไลต์ในน้ำ 0.05 เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลา 3 วัน กลุ่มที่ 3 เสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในน้ำ 0.1 เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลา 3 วัน และกลุ่มที่ 4 เสริมสารละลาย อิเล็กโทรไลต์ในน้ำ 0.15 เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลา 1 วัน ผลการทดลองพบว่า การเสริมอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่มและผลของอุณหภูมิซากไม่ส่งผลต่อค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของเนื้อไก่กระทง ซากอุ่นและซากเย็น ที่เวลา 0 นาที และที่เวลา 45 นาที เช่นเดียวกับคุณภาพเนื้อ ได้แก่ ค่าสีของเนื้อไก่ (L* a* b*) การสูญเสียน้ำจากการแช่เย็น (Drip loss) การสูญเสียน้ำจากการต้มสุก (Cooking loss) และแรงตัดผ่านเนื้อสัมผัส (Shear fore) แสดงให้เห็นว่าการทดลองการเสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่ม ไม่ส่งผลต่อค่าความเป็นกรด-ด่างและคุณภาพเนื้อของไก่กระทง
การปรับปรุงคุณภาพหมูย่างโดยการเติมซอสพริกไทยดำ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพงษ์ ธรรมขันธ์ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การปรับปรุงคุณภาพการทำหมูย่าง โดยการปรับปรุงสูตรและวิธีการทำหมูย่างจากสูตรของสุรพงษ์ ( 2551 ) แบ่งการทดลองออกเป็น 2 การทดลอง คือ การทดลองที่ 1 ปรับปรุงสูตรการทำหมูย่างโดยการเติม เครื่องปรุง ได้แก่ ซอสหอยนางรม น้ำมันงา ซอสเทอริยากิ ซีอิ๊วหวาน และซอสพริกไทยดำเพียงจำนวนเล็กน้อย พบว่า ซอสพริกไทยดำทำให้หมูย่างมีรสชาติดีขึ้นมีกลิ่นหอมน่ารับประทานมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ซอสหอยนางรม ซีอิ๊วหวาน ซอสเทอริยากิ และน้ำมันงาตามลำดับจึงนำซอสพริกไทยดำ มาปรับปรุงคุณภาพหมูย่าง ในการทดลองที่ 2 ศึกษาเปรียบเทียบหาระดับของซอสพริกไทยดำ โดยการเติมซอสพริกไทยดำในการทำหมูย่างที่ระดับ 0 ,
5 , 10 , 15 และ 20 กรัม ต่อเนื้อหมู่ 1 กิโลกรัม เพื่อเปรียบเทียบการยอมรับในด้าน สี กลิ่น รสชาติ และเนื้อสัมผัสที่ผู้บริโภคมีความชอบต่อคุณภาพหมูย่าง จากการทดลอง พบว่า ซอสพริกไทยดำที่ระดับ 15 กรัม เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคสูงสุด รองลงมา คือ การเติมซอสพริกไทยดำที่ระดับ 20 กรัม เพราะมีรสชาติเผ็ดจัด รองลงมา คือ ที่ระดับ 10 กรัม เพราะมีรสชาติเผ็ดปานกลาง รองลงมา คือ ที่ระดับ 5 กรัม เพราะมีรสชาติจืดไป จึงมีการยอมรับรองลงมาตามลำดับและผู้บริโภคยอมรับที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ ( p<0.01 )
ผลของการเสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่มต่อคุณภาพเนื้อของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
ศึกษาผลของการเสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่มต่อคุณภาพเนื้อของไก่กระทง ใช้ไก่รอส 308 อายุ 35 วัน จำนวน 120 ตัว โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) การทดลองแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 2 ซ้ำๆ 6 ตัว (ทั้งหมด 36 ตัว) โดยกลุ่มที่ 1 ไม่เสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่ม (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 เสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ในน้ำดื่ม 0.05 เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลา 3 วัน และกลุ่มที่ 3 เสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่ม 0.1เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลา 7 วัน ผลการทดลองพบว่า ค่าสี L* ของกลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ขณะที่ค่าสี a* และค่าสี b* ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ในส่วนของคุณภาพเนื้อพบว่า เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำจากการแช่เย็นที่ 48 ชั่วโมง การสูญเสียน้ำจากการทำละลายและการสูญเสียน้ำหลังจากการปรุงสุก มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ขณะที่กลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 1 มีแนวโน้มการสูญเสียน้ำจากการแช่เย็นที่ 24 ชั่วโมงมากกว่ากลุ่มที่ 3 (P=0.08) ส่วนค่าแรงตัดผ่านของชิ้นเนื้อมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นจากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าการเสริมสารละลาย อิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่มของไก่กระทง ส่งผลต่อสีเนื้อทำให้เนื้อมีสีที่เข้มขึ้นและคุณภาพเนื้อมีความนุ่มขึ้นเนื่องจากค่าแรงตัดผ่านชิ้นเนื้อมีค่าที่ต่ำ
ผลของการเสริมสารอิเล็กโทรไลต์ในน้ำดื่มต่อค่า pH ของเนื้ออก และคุณภาพซากของไก่เนื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การศึกษาผลของการเสริมสารอิเล็กโทรไลต์ในน้าดื่มต่อค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของเนื ออกและคุณภาพซากของไก่เนื อ ใช้ไก่เนื อพันธุ์ Ross 308 จ้านวน 120 ตัว เลี ยงโรงเรือนปิด โดยมีการซุ่มน้าหนักเฉลี่ยใกล้เคียงกันในแต่ละคอกวางแผนแบบ CRD แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 2 ซ้า ซ้าละ 6 ตัว (ทั งหมด 24 ตัว) แผนการทดลองคือการเสริมอิเล็กโทรไลต์ในการละลายน้าให้ไก่กินตามระดับคือ กลุ่มที่ 1 ไม่เสริมสารอิเล็กโทรไลต์ในน้าดื่ม และกลุ่มที่ 2 เสริมสารอิเล็กโทรไลต์ในน้าดื่ม ระยะเวลา 7 วัน ผลการทดลองพบว่าการวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) 0 นาที และ 45 นาที ของกลุ่มที่ไม่เสริมสารละลาย อิเล็กโทรไลต์และเสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P>0.05) เช่นเดียวกับน้าหนักซากและเปอร์เซ็นต์ชิ นส่วน ได้แก่ สะโพก น่อง ปีก อก โครงไก่ และเครื่องใน ของกลุ่มที่ไม่เสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์และเสริมสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั นจากการศึกษาครั งนี ของการเสริมสารอิเล็กโทรไลต์ในน้าดื่มไม่มีผลต่อค่าความเป็นกรด-ด่างของเนื ออกและคุณภาพซากของไก่เนื อ
ผลการเสริมสังกะสีอินทรีย์และซีลีเนียมอินทรีย์ ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเสริมสังกะสีอินทรีย์ 40 ส่วนในล้านส่วนกับการเสริมซีลีเนียมอินทรีย์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design, CRD) โดยทดลองในไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 35 สัปดาห์ จำนวน 120 ตัว แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว ดังนี้ 1. กลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) 2. กลุ่มที่ได้รับอาหารปกติเสริมสังกะสีอินทรีย์ 40 ส่วนในล้านส่วน 3. กลุ่มที่ได้รับอาหารปกติเสริมซีลีเนียมอินทรีย์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน แบ่งการเก็บข้อมูลออกเป็น 3 ช่วงๆ ละ 4 สัปดาห์
ผลการทดลอง พบว่า มีความเข้มของสีไข่แดงเท่ากับ 12.32 , 12.32 และ 12.42 ความหนาของเปลือกไข่เท่ากับ 0.342 , 0.342 และ 0.340 ความสูงของไข่ขาวเท่ากับ 6.82 , 7.06 และ 7.17 ค่าความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 1.091 , 1.090 และ 1.089 ค่าฮอกยูนิตเท่ากับ 81.93 , 85.05 และ 84.83 ในกลุ่มที่ 1,2 และ 3 ตามลำดับ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้น การเสริมแร่ธาตุอินทรีย์ทั้ง 2 ชนิด ในระดับที่ทดลองจึงไม่ได้ช่วยในการปรับปรุงคุณภาพไข่
ผลของฟางข้าวหมักด้วยกากกน้าตาลและยูเรียต่อระดับ pH และปริมาณความชื้น | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
จากการศึกษาฟางข้าวหมักด้วยกากน้าตาล 10 เปอร์เซ็นต์ และฟางข้าวหมักด้วยยูเรีย 6 เปอร์เช็นต์ โดยวางแผนการทดลองแบบ independent t-test แบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่มกลุ่มละ 15 ซ้า คือกลุ่มทดลองที่ 1 เสริมกากน้าตาล 10 เปอร์เช็นต์ 15 ซ้า กลุ่มทดลองที่ 2 เสริมยูเรีย 6 เปอร์เช็นต์ 15 ซ้า โดยรวมทั งหมด 30 ถุง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเป็นกรด-ด่าง และปริมานความชื นการหมักฟางข้าวหมักระหว่างกากน้าตาลและยูเรีย เริ่มการทดลองหมักที่ 21 วัน ณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จากผลการทดลองครั งนี พบว่าฟางข้าวหมักด้วยกากน้าตาล 10 เปอร์เซ็นต์ และฟางข้าวหมักด้วยยูเรีย 6 เปอร์เช็นต์ มีค่าความเป็นกรด-ด่าง เฉลี่ยเท่ากับ 5.64 และ 8.45 ซึ่งไม่แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติและมีค่าความชื นเฉลี่ยเท่ากับ 45.02 และ 44.13 ซึ่งไม่แตกต่างอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ(p>0.05)
การพัฒนาการทำไส้กรอกปลาดอร์รี่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพงษ์ ธรรมขันธ์ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การพัฒนาการทำไส้กรอกปลาดอร์รี่ โดยการปรับปรุงสูตรและวิธีการทำจากสูตรไส้กรอกเวียนนาหมูของสุรพงษ์ (2557) ทดลองเปลี่ยนจากเนื้อหมูมาเป็นเนื้อปลา แบ่งการทดลองออกเป็น 5 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาการใช้เนื้อปลาดุกในการทำไส้กรอกปลาแทนเนื้อหมูและมันหมู การทดลองที่ 2 การทดลองเสริมนมผงเพื่อให้เนื้อสัมผัสดีขึ้น การทดลองที่ 3 การทดลองเสริมแป้งมันสำปะหลัง เพราะแป้งมันสำปะหลังมีคุณสมบัติในการดูดน้ำ ทำให้ไส้กรอก มีลักษณะแข็งตัวขึ้น การทดลองที่ 4 การทดลองผสมเนื้อปลาดอร์รี่และการเสริมแป้งดัดแปลงลงไปในไส้กรอก การทดลองที่ 5 การศึกษาระดับการใส่ดอกจันทน์ที่เหมาะสม ศึกษาโดยใช้ระดับที่แตกต่างกัน 5 ระดับ คือ 0, 0.25, 0.50, 0.75 และ 1 กรัมต่อเนื้อปลา 1,250 กรัม แล้วทดสอบทางประสาทสัมผัส โดยให้ผู้ชิมจำนวน 20 ท่าน เก็บข้อมูล แล้วนำมาวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และเปรียบเทียบการยอมรับของผู้บริโภค จากการทดลองพบว่า ระดับดอกจันทน์ที่เหมาะสมคือ ที่ระดับ 0.75 กรัมต่อเนื้อปลา 1,250 กรัม เป็นระดับที่ผู้บริโภคยอมรับที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) รองลงมาคือ ระดับ 1, 0.50, 0 และ 0.25 กรัมต่อเนื้อปลา 1,250 กรัม ตามลำดับ
การเสริมกากชากับเอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาคุณภาพของไข่จากแม่ไก่ที่ได้รับอาหารเสริมกากชาร่วมกับเอนไซม์ย่อยเยื่อใย โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่มๆละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์ไฮแซก อายุ 52 สัปดาห์ จำนวน 96 ตัว ระยะเวลาทดลอง 56 วัน กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมกากชา 1% กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมกากชา 1% ร่วมกับเอนไซม์ไฟเตส 100 IU เอนไซม์ไซลาเนส 1600 IU , และ เอนไซม์เซลลูเลส 10 IU ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ศึกษาคุณภาพไข่โดยวัดสีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ค่าความถ่วงจำเพาะ ค่าฮอกยูนิต ผลการทดลองปรากฏว่า สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ค่าฮอกยูนิต และค่าความถ่วงจำเพาะของทุกกลุ่มแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05)
การศึกษาการเจริญของเส้นใยเห็ดเป๋าฮื้อในวัสดุปลูกที่แตกต่างกันในฤดูร้อน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
ในการศึกษาการเจริญของเส้นใยเห็ดเป๋าฮื้อในวัสดุปลูกที่แตกต่างกันในฤดูร้อน ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการศึกษาการเจริญของเส้นใยเห็ดเป๋าฮื้อในวัสดุที่ต่างกัน โดยใช้ปริมาณของรำละเอียดและ เศษไม้กระถินบดที่แตกต่างกันและ ต้องการทราบถึงการออกดอกของเห็ดเป๋าฮื้อในฤดูร้อนโดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design ( CRD )ซึ่งทำการทดลองทั้งหมด 5 สูตรอาหารทดลอง สูตรละ 3 ซ้ำๆ ละ 4 ก้อน โดยบรรจุก้อนละ 500 กรัม
ผลการทดลองพบว่า ในระยะเวลา 6 สัปดาห์ สูตรอาหาร 4และ 5 มีการเจริญของเส้นใยช้ากว่าสูตรอาหาร 1,2และ 3 ในช่วงสัปดาห์แรกๆ แต่ในสัปดาห์สุดท้าย เส้นใยเห็ดเป๋าฮื้อมีการเจริญที่ไม่แตกต่างกันโดย สูตรอาหารที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 9.85 ซ.ม สูตรอาหารที่ 2 มีค่าเฉลี่ย 10.30 ซ.ม สูตรอาหารที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 10.22 สูตรอาหารที่ 4 มีค่าเฉลี่ย 10.05 ซ.ม และ สูตรอาหารที่ 5 มีค่าเฉลี่ย 9.19 ซ.ม แต่อย่างไรก็ตามเห็ดเป๋าฮื้อไม่สามารถออกดอกได้เนื่องจากมีอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสมกับเห็ดเป๋าฮื้อ
ฉะนั้น ผู้ที่จะเพาะเห็ดจึงควรเลือกเศษไม้กระถินป่นเป็นส่วนผสมในอัตราทดแทนที่ 25-50 เปอร์เซ็นต์ และ ไม่ควรเปิดดอกเห็ดในฤดูร้อน หรือ ถ้ามีความต้องการผลิตเห็ดเป๋าฮื้อในฤดูร้อนควรควบคุมอุณหภูมิไม่ให้สูงเกิน 30 องศาเซลเซียน
การปรับปรุงคุณภาพกุนเชียงปลาดุกโดยการเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรพงษ์ ธรรมขันธ์ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การปรับปรุงคุณภาพกุนเชียงปลาดุกโดยการเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ เริ่มจากการนำสูตรและวิธีการทำกุนเชียงปลาดุกของสุพัตรา (2556) มาปรับปรุงเนื่องจากกุนเชียงที่ได้จากการใช้เนื้อปลาดุกล้วนมีเนื้อสัมผัสและรสชาติดีแต่มีข้อเสียคือมีสีดำคล้ำไม่น่ารับประทานจึงทดลองเสริมเนื้อปลาดอร์รี่เพื่อให้สีของกุนเชียงปลามีสีอ่อนลง แบ่งการทดลองเป็น3การทดลองดังนี้ การทดลองที่1 ศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับสีของกุนเชียงปลาดุกให้อ่อนลง โดยการเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ในระดับ 0 , 25 และ 50 เปอร์เซ็นต์ ผลที่ได้คือมีความเป็นไปได้ในการใช้เนื้อปลาดอร์รี่มาเสริมในกุนเชียงปลาดุก ปลาดอร์รี่ทำให้สีของกุนเชียงที่ได้มีสีอ่อนลงกว่าการใช้เนื้อปลาดุกล้วน แต่การเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ต้องเสริมในระดับที่ไม่เกิน 25 เปอร์เซ็นต์ เพราะถ้าใช้ระดับที่สูงกว่านี้ จะทำให้กุนเชียงที่ได้มีลักษณะเหี่ยว การทดลองที่2เพื่อศึกษาการปรับสีของกุนเชียงปลาดุกโดยการเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ในระดับ0 , 5 , 10 , 15 , 20 และ 25 เปอร์เซ็นต์ ปรากฏว่าการปรับระดับเนื้อปลาดอร์รี่ในระดับที่ไม่เกิน 20 เปอร์เซ็นต์ ทำให้สีของกุนเชียงปลาดุกมีลักษณะใกล้เคียงกับกุนเชียงหมูข้อดีคือมีสีสันสวยงาม กลิ่นหอมน่ารับประทาน เนื้อสัมผัสเหนียวนุ่ม และรสชาติหวานเค็มพอเหมาะ จึงทำการทดลองหาระดับเนื้อปลาดอร์รี่ที่เหมาะสมอีกครั้งในการทดลองที่ 3 ศึกษาการปรับปรุงคุณภาพกุนเชียงโดยการเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ในระดับ 0 , 5 , 10 , 15 และ 20 เปอร์เซ็นต์ เพื่อเปรียบเทียบการยอมรับในด้านสี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบรวมที่ผู้บริโภคมีต่อคุณภาพกุนเชียงปลา จากการทดลองพบว่าการเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ที่ระดับ 20 เปอร์เซ็นต์ กุนเชียงปลาดุกมีสีอ่อนลงดีกว่ากุนเชียงปลาดุกล้วน กลิ่นหอมน่ารับประทาน เนื้อสัมผัสเหนียว รสชาติหวานเค็มพอเหมาะ เป็นที่พึงพอใจของผู้บริโภคมากที่สุด รองลงมาคือ การเสริมเนื้อปลาดอร์รี่ที่ระดับ 15 , 10 , 5 และ 0 ตามลำดับ โดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01)
การเสริมวิตามินซีและวิตามินดีในอาหารไก่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมวิตามินซีและวิตามินดีในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด โดยทดลองไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จำนวน 96 ตัว และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว กลุ่มที่ 1 ให้อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมวิตามินซี 0.03 % กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมวิตามินดี 0.015 % ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ ผลการทดลองอายุ 85-88 สัปดาห์ 89-92 สัปดาห์ และ 93-96 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ค่าฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง ไข่ขนาดเล็ก ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) แต่ไข่ขนาดใหญ่พิเศษและค่าดัชนีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) ผลการทดลองในไก่ไข่อายุ 84-96 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ค่าฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ ดัชนีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง ไข่ขนาดเล็ก ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) แต่สีไข่แดง มีความแตกต่างสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับวิตามินดีจะมีสีไข่แดงเข้มที่สุด และมีไข่ขนาดใหญ่พิเศษมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้น การเสริมวิตามินดี 0.015% และวิตามินซี 0.03% ในอาหารแม่ไก่ระยะปลดไข่ จะช่วยปรับปรุงสมรรถภาพการผลิตไข่ และคุณภาพไข่บางประการ
ผลของการเสริมสารละลายแมกนีเซียมในน้ำดื่มต่อคุณภาพเนื้อหน้าอกของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
ศึกษาผลของการเสริมสารละลายแมกนีเซียมลงในน้ำดื่มต่อคุณภาพเนื้อหน้าอกไก่กระทง ใช้ไก่ ROS 308 เพศผู้ อายุ 1 วัน จำนวน 192 ตัว ระยะเวลาในการทดลอง 36 วัน วางแผนการทดลองแบบ T-Test แบ่งไก่กระทงออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ไม่เสริมแมกนีเซียมในน้ำ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 เสริมแมกนีเซียม 10 มิลลิกรัมต่อน้ำ 1ลิตรลงในน้ำดื่ม ผลการทดลองพบว่า การเสริมสารละลายแมกนีเซียมไม่มีผลต่อคุณภาพสี L* a* และ b*ของเนื้ออกไก่กระทง (P>0.05) ส่วนของคุณภาพเนื้ออกไก่ พบว่า เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำจากการแช่เย็น ที่ 24 ชั่วโมง การสูญเสียน้ำจากการแช่แข็ง ที่ 48 ชั่วโมง การสูญเสียน้ำหลังการปรุงสุกและค่าแรงตัดผ่านชิ้นเนื้อไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P>0.05) แสดงให้เห็นว่าการทดลองเสริมสารละลายแมกนีเซียมในน้ำดื่มไม่ส่งผลต่อคุณภาพเนื้อของไก่กระทง
ผลของระยะเวลาในการให้ความร้อนกับเนื้อหมูสดต่อคุณภาพของแหนม | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ศิริพร นามเทศ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการผลิตแหนมโดยให้ความร้อนกับเนื้อหมูดิบด้วยวิธีการนึ่งผ่านความร้อน 80 องศาเซลเซียส (๐C ) ในเวลาที่แตกต่างโดยให้ความร้อนแก่เนื้อหมู 6 ระดับได้แก่ กลุ่มควบคุม, 1 2 3 4 และ 5 นาทีแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) แสดงผลการวิเคราะห์ค่า pH ในแหนมที่ผลิตโดยใช้ความร้อนกับเนื้อหมูดิบที่ระยะเวลาแตกต่างกันพบว่าค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่เนื้อหมูผ่านความร้อน 1 และ 2 นาทีอยู่ระหว่าง 4.53 - 4.62 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (pH = 4.4-4.6) ขณะที่การให้ความร้อนตั้งแต่ 3 นาที ขึ้นไปจะทำให้ได้ค่า pH เกินมาตฐานที่กำหนด และเมื่อทำการทดสอบค่าสีโดยกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ให้ความร้อนที่ 1 และ 2 นาที ไม่มีความแตกต่างกัน แต่แตกต่างกับกลุ่มที่ให้ความร้อน 3 4 และ 5 นาที ขณะที่ค่าสีของแหนมในวันที่ 3 หลังจากการหมักพบว่าค่าสี a* และ b* มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินอกจากนี้ค่า texture profile เป็นค่าที่บอกลักษณะทางกายภาพทางเนื้อสัมผัสของแหนมแสดงให้เห็นว่าการกลุ่มควบคุมและกลุ่มผ่านความร้อนที่ 1 และ 2 นาทีไม่มีความแตกต่างกัน แต่กลุ่มที่ให้ความร้อนที่ 3 4 และ 5 นาที มีความแตกต่างจากกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ให้ความร้อน1 และ2 นาทีนอกจากนี้ยังทำการตรวจค่าการเจริญเติบของเชื้อ Lactobacillus และเชื้อ Escherichia coli ในแหนมพบว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ให้ความร้อน 1 2 3 4 และ 5 นาทีไม่มีความแตกต่างกัน ดังนั้นการผ่านความร้อนของเนื้อหมูที่เวลา 2 นาทีจึงเหมาะที่ป้องกันเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคที่อาจปนเปื้อนมากับเนื้อหมูดิบคงรสชาติดั่งเดิมของแหนม
|