อิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจำลองระบบปลูกแบบใช้วัตถุปลูกไร้ดินต่อการเจริญเติบโตและประมาณในเรคโอ๊ค อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจำลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสำคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้ำกรอง ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้น้ำกรอง ปุ๋ยคอก ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่า Treatments 1 (control) สามารถทำให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,20,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลำดับ งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจำลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสำคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้ำกรอง ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้น้ำกรอง ปุ๋ยคอก ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่า Treatments 1 (control) สามารถทำให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,20,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลำดับ อิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้าปุ๋ย AB ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้ปุ๋ย AB 50 ml ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าปุ๋ย AB ที่ผ่านการฉาย plasma 20 นาที สามารถทาให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลาดับ งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้าปุ๋ย AB ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้ปุ๋ย AB 50 ml ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าปุ๋ย AB ที่ผ่านการฉาย plasma 20 นาที สามารถทาให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลาดับ การเปรียบเทียบวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตของเมล่อนพันธุ์ไข่ทองคำในระบบปลูกพืชไม่ใช้ดิน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจนจิรา นามี หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปรียบเทียบวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อเมล่อนสายพันธุ์
ไข่ทองคำในระบบปลูกพืชไม่ใช้ดิน โดยการเปรียบเทียบการใช้วัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเมล่อนพันธุ์ไข่ทองคำที่ปลูกในระบบโรงเรือน วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized design : CRD) จำนวน 3 กรรมวิธี 3 ซ้ำๆ ละ 10 ถุง ประกอบด้วย กรรมวิธีที่ 1
ฟิวเตอร์เค้ก อัตราส่วน 100% กรรมวิธีที่ 2 ฟิวเตอร์เค้ก อัตราส่วน 50% ผสมกับวัสดุปลูก 50% และกรรมวิธีที่ 3 วัสดุปลูกอัตราส่วน 100% โดยบันทึกผลการทดลองการเจริญเติบโตทางด้าน
ต้นเมล่อนและขนาดผลของเมล่อน เริ่มทำการวัดการเจริญเติบโตของเมล่อน เป็นระยะเวลา 7, 14, 21 และ 28 วัน ทำการบันทึกข้อมูลดังนี้ 1) ความสูงของต้นเมล่อนเถาหลัก (เซนติเมตร),
2) ความกว้างใบ (เซนติเมตร), 3) ความยาวใบ (เซนติเมตร), 4) จำนวนใบ (ใบ), 5) จำนวนข้อ (ข้อ), 6) เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น (เซนติเมตร), 7) เส้นผ่าศูนย์กลางผล (เซนติเมตร) 8) ความยาวผล (มิลลิเมตร) และ 9) น้ำหนักผล (กิโลกรัม) ผลการทดลองพบว่าการใช้ฟิวเตอร์เค้ก อัตราส่วน 100% ช่วยส่งเสริมให้ความสูง ความกว้างใบ จำนวนใบ และจำนวนข้อของเมล่อนเจริญได้ดีที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าการใช้ฟิวเตอร์เค้ก อัตราส่วน 100% และฟิวเตอร์เค้ก 50% ผสมกับวัสดุปลูก 50% ส่งผลให้ขนาดลำต้น เส้นผ่าศูนย์กลางผล ความยาวผล
และน้ำหนักผล เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ฟิวเตอร์เค้ก อัตราส่วน 100% ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05)
ผลของน้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของ ผักสลัดพันธุ์กรีนคอสในสารละลายร่วมกับพ่นทางใบในระบบไฮโดรโปนิกส์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจนจิรา นามี หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกาดหอม พันธุ์กรีนคอส ที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารร่วมกับน้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลร่วมกับการฉีดพ่นน้ำ หมักชีวภาพจากปลาทะเลทางใบในระบบไฮโดรโปนิกส์ และเพื่อเป็นแนวทางในการใช้น้ำหมักชีวภาพจาก ปลาทะเลมาใช้ในการปลูกพืชในระบบไฮโดรโปนิกส์ทดแทนสารละลายธาตุอาหารได้ วางแผนทดลองแบบ 4 X 3 completely Randomized Design (CRB) จำนวน 3 ซ้ำ 4 กรรมวิธี ได้แก่ T1 คือ กรรมวิธีไม่ใช้ น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเล (ควบคุม) T2 คือ กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเล อัตราความ เข้มข้น 0.2% T3 คือ กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลอัตราความเข้มข้น 0.4% และ T4 คือ กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลอัตราความเข้มข้น 0.6% ผลการทดลองนี้พบว่าอัตราการใช้ น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลส่งผลให้การเจริญเติบโตของผักกาดหอมพันธุ์กรีนคอสแตกต่างกันทางสถิติ โดยกรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลฉีดพ่นทางใบที่อัตราความเข้มข้น 0.2% ส่งผลให้ผักสลัด พันธุ์กรีนคอสมีความสูงมากที่สุด เท่ากับ 38.00 เซนติเมตร กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเล อัตราความเข้มข้น 0.4% ส่งผลให้ผักสลัดพันธุ์กรีนคอสมีน้ำหนักสดต้น น้ำหนักราก และน้ำหนักแห้งราก ดีที่สุด เท่ากับ 224.66, 235.01 และ 10.21 กรัม กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลที่อัตรา ความเข้มข้น 0.6% ส่งผลให้ผักสลัดพันธุ์กรีนคอสมีความกว้างทรงพุ่ม ความยาวราก และน้ำหนักแห้งต้น ดีที่สุด เท่ากับ 3.90 และ 52.67 เซนติเมตร และ 63.91 กรัม จากการทดลองนี้ชี้ให้เห็นว่ากรรมวิธีการใช้ น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลที่อัตราความเข้มข้นแตกต่างกันไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอม พันธุ์กรีนคอส การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกาดหอม พันธุ์กรีนคอส ที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารร่วมกับน้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลร่วมกับการฉีดพ่นน้ำ หมักชีวภาพจากปลาทะเลทางใบในระบบไฮโดรโปนิกส์ และเพื่อเป็นแนวทางในการใช้น้ำหมักชีวภาพจาก ปลาทะเลมาใช้ในการปลูกพืชในระบบไฮโดรโปนิกส์ทดแทนสารละลายธาตุอาหารได้ วางแผนทดลองแบบ 4 X 3 completely Randomized Design (CRB) จำนวน 3 ซ้ำ 4 กรรมวิธี ได้แก่ T1 คือ กรรมวิธีไม่ใช้ น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเล (ควบคุม) T2 คือ กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเล อัตราความ เข้มข้น 0.2% T3 คือ กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลอัตราความเข้มข้น 0.4% และ T4 คือ กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลอัตราความเข้มข้น 0.6% ผลการทดลองนี้พบว่าอัตราการใช้ น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลส่งผลให้การเจริญเติบโตของผักกาดหอมพันธุ์กรีนคอสแตกต่างกันทางสถิติ โดยกรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลฉีดพ่นทางใบที่อัตราความเข้มข้น 0.2% ส่งผลให้ผักสลัด พันธุ์กรีนคอสมีความสูงมากที่สุด เท่ากับ 38.00 เซนติเมตร กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเล อัตราความเข้มข้น 0.4% ส่งผลให้ผักสลัดพันธุ์กรีนคอสมีน้ำหนักสดต้น น้ำหนักราก และน้ำหนักแห้งราก ดีที่สุด เท่ากับ 224.66, 235.01 และ 10.21 กรัม กรรมวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลที่อัตรา ความเข้มข้น 0.6% ส่งผลให้ผักสลัดพันธุ์กรีนคอสมีความกว้างทรงพุ่ม ความยาวราก และน้ำหนักแห้งต้น ดีที่สุด เท่ากับ 3.90 และ 52.67 เซนติเมตร และ 63.91 กรัม จากการทดลองนี้ชี้ให้เห็นว่ากรรมวิธีการใช้ น้ำหมักชีวภาพจากปลาทะเลที่อัตราความเข้มข้นแตกต่างกันไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอม พันธุ์กรีนคอส การยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว ที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศ สาเหตุการสูญเสียคุณภาพของดอกไม้ โดยใช้สารละลายแอสไพริน 300ppm ร่วมกับซูโครส 5% และน้ำที่ผ่านการฉาย Plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ชูโครส 5% ร่วมกับ น้ำที่ผ่านการฉาย plasma 5 นาที สามารถยืดอายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศไว้นานที่สุดคือ 15 วัน ขณะที่ดอกเบญจมาศในน้ำกลั่นมีอายุการปักแจกันเพียง 7 วัน ดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ซูโครส 5% มีการเปลี่ยนสีของกลีบดอกน้อย ดอกมีขนาดใหญ่ อัตราการดูดน้ำสูง และน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในน้ำกลั่น งานวิจัยเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว ที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศ สาเหตุการสูญเสียคุณภาพของดอกไม้ โดยใช้สารละลายแอสไพริน 300ppm ร่วมกับซูโครส 5% และน้ำที่ผ่านการฉาย Plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ชูโครส 5% ร่วมกับ น้ำที่ผ่านการฉาย plasma 5 นาที สามารถยืดอายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศไว้นานที่สุดคือ 15 วัน ขณะที่ดอกเบญจมาศในน้ำกลั่นมีอายุการปักแจกันเพียง 7 วัน ดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ซูโครส 5% มีการเปลี่ยนสีของกลีบดอกน้อย ดอกมีขนาดใหญ่ อัตราการดูดน้ำสูง และน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในน้ำกลั่น การเปรียบเทียบความหวานและขนาดของผลอินทผลัม สายพันธุ์สยาม S1 | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การเปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยที่แตกต่างกันต่อความหวานและขนาดของผลอินทผลัม โดยทำการศึกษาในสวนอินทผลัมของเกษตรกรจำนวน 9 แปลง แบ่งการทดลองออกเป็น 3 สิ่งทดลองได้แก่ การใส่ปุ๋ย 1, 2 และ 3 รอบต่อปี เก็บข้อมูลการทดสอบความหวาน 30 ทะลายต่อสิ่งทดลองและทดสอบขนาดผล 50 ทะลายต่อสิ่งทดลอง ในระยะสุกพร้อมเก็บเกี่ยว (หลังจากผสม 200 วัน) พบว่า การใส่ปุ๋ย 2 รอบต่อปี ส่งผลให้ผลอินทผลัมมีความหวานสูงที่สุด คือ 30.400 องศาบริกซ์ ส่วนการใส่ปุ๋ย 3 รอบต่อปี ส่งผลให้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของผลอินทผลัมใหญ่มากที่สุด คือ 2.4 เซนติเมตร การเปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยที่แตกต่างกันต่อความหวานและขนาดของผลอินทผลัม โดยทำการศึกษาในสวนอินทผลัมของเกษตรกรจำนวน 9 แปลง แบ่งการทดลองออกเป็น 3 สิ่งทดลองได้แก่ การใส่ปุ๋ย 1, 2 และ 3 รอบต่อปี เก็บข้อมูลการทดสอบความหวาน 30 ทะลายต่อสิ่งทดลองและทดสอบขนาดผล 50 ทะลายต่อสิ่งทดลอง ในระยะสุกพร้อมเก็บเกี่ยว (หลังจากผสม 200 วัน) พบว่า การใส่ปุ๋ย 2 รอบต่อปี ส่งผลให้ผลอินทผลัมมีความหวานสูงที่สุด คือ 30.400 องศาบริกซ์ ส่วนการใส่ปุ๋ย 3 รอบต่อปี ส่งผลให้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของผลอินทผลัมใหญ่มากที่สุด คือ 2.4 เซนติเมตร การเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยและการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 22.6 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวดดอกมากที่สุด 13 ดอกต่อช่อ และให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 75.25 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุดในสูตรที่ 1 วัสดุเพาะไม่หมักและไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 110 มิลลิเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุดในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 12 มิลลิเมตร ความยาวก้านดอก 15 เซนติเมตร ความหวาน 3.8 บริกซ์ หลังเปิดดอก การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 22.6 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวดดอกมากที่สุด 13 ดอกต่อช่อ และให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 75.25 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุดในสูตรที่ 1 วัสดุเพาะไม่หมักและไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 110 มิลลิเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุดในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 12 มิลลิเมตร ความยาวก้านดอก 15 เซนติเมตร ความหวาน 3.8 บริกซ์ หลังเปิดดอก การเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยและการให้ ผลผลิตของเห็ดนางรมฮังการี | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการี โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 6.55 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวนดอกมากที่สุด 30 ดอกต่อช่อ ให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 94.50 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 3 วัสดุเพาะหมักไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 31 เซนติเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 4 วัสดุเพาะไม่หมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 13.50 เซนติเมตร ความยาวก้านดอก 9.22 เซนติเมตร ความหวาน 1.67 บริกซ์ ในเวลา 2 เดือน การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการี โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 6.55 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวนดอกมากที่สุด 30 ดอกต่อช่อ ให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 94.50 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 3 วัสดุเพาะหมักไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 31 เซนติเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 4 วัสดุเพาะไม่หมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 13.50 เซนติเมตร ความยาวก้านดอก 9.22 เซนติเมตร ความหวาน 1.67 บริกซ์ ในเวลา 2 เดือน การปลูกทดสอบพันธุ์ทานตะวันลูกผสม‘Red Sunflower’ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ปลูกทั้งหมดจำนวน 60 ต้น โดยการผสมสายพันธุ์เดียวกันและผสมข้ามสายพันธุ์ มีทั้งหมด 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Red Sunflower (OLR) , Red Sunflower (OS), พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธ์ุ เพื่อใช้ในขยายพันธุ์ต่อ จากการปลูกทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) รุ่นที่1 (F1) ทำการเก็บอัตราการงอก เปอร์เซ็นต์การงอกที่ได้คือ 75 เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้นกล้าทานตะวันอายุ 14 วัน ทำการย้ายลงปลูกในกระถางขนาด 12 นิ้ว โดยอัตราการรอดชีวิตตั้งแต่วันแรกที่ย้ายลงกระถางเป็น ระยะเวลา 14 วัน อัตราการรอดชีวิตคือ 100 เปอร์เซ็นต์ จำนวนเมล็ดทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ที่ได้จากการผสมพันธุ์เดียวกันได้ทั้งหมด 196 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 24.5 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OLR) ได้ทั้งหมด 490 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 44.55 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OS) ได้ทั้งหมด 59 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 14.75 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) ได้ทั้งหมด 68 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 34.0 เมล็ดต่อดอก หลังจากให้เมล็ดพักตัวเป็นเวลา 2 เดือน ได้ทำการปลูกทดสอบรุ่นที่2 (F2) เพื่อดูลักษณะลูกผสม พบว่า ลูกผสมที่เกิดจากการพันธุ์ RS X RS มีลักษณะดอกมีดอกออกตามข้อใบ ดอกวงนอกมีสีเหลืองแซมด้วยสีส้ม ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X OLR มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีแดงแซมด้วยสีน้ำตาล ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ก้านดอกยาว ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X BY มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีเหลืองสด ดอกวงในสีน้ำตาล กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน มีดอกออกตามข้อใบ จากลูกผสมรุ่นที่2 (F2) ที่ปลูกทดสอบคู่RS X RS และ คู่RS X OLR มีความแตกต่างกันแค่เพียงสีดอก ส่วนคู่RS X BY มีขนาดดอกที่ใกล้เคียงกับต้นแม่ สีเหมือนต้นพ่อ มีลักษณะลำต้นที่คล้ายกันกับต้นแม่ ส่วนสีลำต้นคล้ายกันกับต้นพ่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ปลูกทั้งหมดจำนวน 60 ต้น โดยการผสมสายพันธุ์เดียวกันและผสมข้ามสายพันธุ์ มีทั้งหมด 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Red Sunflower (OLR) , Red Sunflower (OS), พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธ์ุ เพื่อใช้ในขยายพันธุ์ต่อ จากการปลูกทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) รุ่นที่1 (F1) ทำการเก็บอัตราการงอก เปอร์เซ็นต์การงอกที่ได้คือ 75 เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้นกล้าทานตะวันอายุ 14 วัน ทำการย้ายลงปลูกในกระถางขนาด 12 นิ้ว โดยอัตราการรอดชีวิตตั้งแต่วันแรกที่ย้ายลงกระถางเป็น ระยะเวลา 14 วัน อัตราการรอดชีวิตคือ 100 เปอร์เซ็นต์ จำนวนเมล็ดทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ที่ได้จากการผสมพันธุ์เดียวกันได้ทั้งหมด 196 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 24.5 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OLR) ได้ทั้งหมด 490 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 44.55 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OS) ได้ทั้งหมด 59 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 14.75 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) ได้ทั้งหมด 68 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 34.0 เมล็ดต่อดอก หลังจากให้เมล็ดพักตัวเป็นเวลา 2 เดือน ได้ทำการปลูกทดสอบรุ่นที่2 (F2) เพื่อดูลักษณะลูกผสม พบว่า ลูกผสมที่เกิดจากการพันธุ์ RS X RS มีลักษณะดอกมีดอกออกตามข้อใบ ดอกวงนอกมีสีเหลืองแซมด้วยสีส้ม ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X OLR มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีแดงแซมด้วยสีน้ำตาล ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ก้านดอกยาว ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X BY มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีเหลืองสด ดอกวงในสีน้ำตาล กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน มีดอกออกตามข้อใบ จากลูกผสมรุ่นที่2 (F2) ที่ปลูกทดสอบคู่RS X RS และ คู่RS X OLR มีความแตกต่างกันแค่เพียงสีดอก ส่วนคู่RS X BY มีขนาดดอกที่ใกล้เคียงกับต้นแม่ สีเหมือนต้นพ่อ มีลักษณะลำต้นที่คล้ายกันกับต้นแม่ ส่วนสีลำต้นคล้ายกันกับต้นพ่อ ผลของระดับความเค็ม-ด่างที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตของ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 และข้าวปทุมธานี 1 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ข้าวเป็นอาหารหลักชนิดหนึ่งของประชากรโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญของโลกและเป็นอาหารหลักของคนไทยมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาลและถือเป็นชีวิตจิตใจของคนไทย การทำนาจึงเป็นอาชีพหลักของประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ และถือได้ว่าข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญยิ่งเนื่องจากพื้นที่ส่วนมากของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่มีดินเค็ม ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของระดับความเค็ม-ด่างที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 และข้าวปทุมธานี 1 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomizrd Design, CRD) โดยแบ่งออกเป็น 4 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 3 ซ้ำ (Replication) ซ้ำละ 50 เมล็ด ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 (T1) คือ ชุดควบคุม (น้ำกลั่น) กรรมวิธีที่ 2 (T2) คือ 50 mM Na+pH7 ( NaCl 49.5 mM + NaHCO3 0.5 mM) กรรมวิธีที่ 3 (T3) คือ 50 mM Na+pH8 (NaCl 48 mM + NaHCO3 2 mM) กรรมวิธีที่ 4 (T4) คือ 50 mM Na+pH9 (Na2CO3 12.5 mM + NaHCO3 25 mM) จากการศึกษาพบว่า ความเค็ม-ด่างในข้าวขาวดอกมะลิ 105 และข้าวปทุมธานี 1 ที่ระดับความเค็ม-ด่างแตกต่างกัน 50 mM Na+pH7, 50mM Na+pH8, 50 mM Na+pH9 พบว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในด้านความยาวราก, ค่าเฉลี่ย, อัตราการถูกทำลาย, เปอร์เซ็นต์การงอก, ความแข็งแรงของเมล็ด, การลดลงของความสูง และความทนเค็ม ของข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีความทนต่อความเคลียดภายใต้สภาวะความเค็ม-ด่างที่ระดับ 50 mM Na+pH7 ในขณะที่ข้าวปทุมธานี 1 ในด้าน น้ำหนักสด, น้ำหนักแห้ง, ความยาวต้น, เปอร์เซ็นต์การดูดน้ำ และดัชนีการงอก มีความไวต่อความเค็ม-ด่างในสภาวะที่ไม่รุนแรงในระดับใดได้ ดังนั้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพทนความเค็ม-ด่าง อยู่ที่ 50 mM Na+pH7 ซึ่งทนได้มากกว่าข้าวปทุมธานี 1 ที่ไม่สามารถทนในสภาวะใดได้ ข้าวเป็นอาหารหลักชนิดหนึ่งของประชากรโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในแหล่งผลิตข้าวที่สำคัญของโลกและเป็นอาหารหลักของคนไทยมาตั้งแต่ครั้งบรรพกาลและถือเป็นชีวิตจิตใจของคนไทย การทำนาจึงเป็นอาชีพหลักของประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ และถือได้ว่าข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญยิ่งเนื่องจากพื้นที่ส่วนมากของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่มีดินเค็ม ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของระดับความเค็ม-ด่างที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 และข้าวปทุมธานี 1 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomizrd Design, CRD) โดยแบ่งออกเป็น 4 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 3 ซ้ำ (Replication) ซ้ำละ 50 เมล็ด ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 (T1) คือ ชุดควบคุม (น้ำกลั่น) กรรมวิธีที่ 2 (T2) คือ 50 mM Na+pH7 ( NaCl 49.5 mM + NaHCO3 0.5 mM) กรรมวิธีที่ 3 (T3) คือ 50 mM Na+pH8 (NaCl 48 mM + NaHCO3 2 mM) กรรมวิธีที่ 4 (T4) คือ 50 mM Na+pH9 (Na2CO3 12.5 mM + NaHCO3 25 mM) จากการศึกษาพบว่า ความเค็ม-ด่างในข้าวขาวดอกมะลิ 105 และข้าวปทุมธานี 1 ที่ระดับความเค็ม-ด่างแตกต่างกัน 50 mM Na+pH7, 50mM Na+pH8, 50 mM Na+pH9 พบว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในด้านความยาวราก, ค่าเฉลี่ย, อัตราการถูกทำลาย, เปอร์เซ็นต์การงอก, ความแข็งแรงของเมล็ด, การลดลงของความสูง และความทนเค็ม ของข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีความทนต่อความเคลียดภายใต้สภาวะความเค็ม-ด่างที่ระดับ 50 mM Na+pH7 ในขณะที่ข้าวปทุมธานี 1 ในด้าน น้ำหนักสด, น้ำหนักแห้ง, ความยาวต้น, เปอร์เซ็นต์การดูดน้ำ และดัชนีการงอก มีความไวต่อความเค็ม-ด่างในสภาวะที่ไม่รุนแรงในระดับใดได้ ดังนั้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพทนความเค็ม-ด่าง อยู่ที่ 50 mM Na+pH7 ซึ่งทนได้มากกว่าข้าวปทุมธานี 1 ที่ไม่สามารถทนในสภาวะใดได้ อิทธิพลของเกลือโซเดียมคลอไรด์ในความเข้มข้นที่แตกต่างกัน ต่อการเจริญเติบโตในระยะการงอกของข้าว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ข้าว (Rice; Oryza sativa L.) เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมากที่สุดอันดับหนึ่งของโลก ข้าวจัดเป็นพืชที่มีความอ่อนแอต่อสภาวะความเค็มในระยะต้นกล้า โดยสภาวะความเค็มเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผลผลิตข้าวลดลง เนื่องจากมีการสะสมของเกลือโซเดียมคลอไรด์ในดิน ที่มีความเข้มข้นสูง ทำให้เกิดสภาวะเครียดเกลือ และส่งผลต่อการเจริญเติบโตในระยะต้นกล้า ดังนั้นงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นเกลือโซเดียมคลอไรด์ ในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อการงอกของข้าวขาวดอกมะลิ 105 และข้าวปทุมธานี 1 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ 5 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้ำ ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 NaCl 0 mM (ชุดควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 NaCl 25 mM กรรมวิธีที่ 3 NaCl 50 mM กรรมวิธีที่ 4 NaCl 75 mM และกรรมวิธีที่ 5 NaCl 100 mM ผลการทดลองพบว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีดัชนีการงอก ความทนเค็ม และน้ำหนักสด ที่สามารถทนความรุนแรงของเกลือโซเดียมคลอไรด์ได้ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM เปอร์เซ็นต์การดูดน้ำ เปอร์เซ็นต์การงอก ความแข็งแรงของเมล็ด ค่าเฉลี่ยการงอก ความสูงต้น ความยาวราก น้ำหนักแห้ง และการลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM และอัตราการถูกทำลาย สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้น 75 mM ในขณะที่ข้าวปทุมธานี 1 มีเปอร์เซ็นต์การดูดน้ำ ดัชนีการงอก ความแข็งแรงของเมล็ด ค่าเฉลี่ยการงอก ความยาวราก และน้ำหนักสด สามารถทนความรุนแรงของเกลือโซเดียมคลอไรด์ได้ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM อัตราการถูกทำลาย ความสูงต้น น้ำหนักแห้ง และการลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM และเปอร์เซ็นต์การงอก และความทนเค็ม ไม่สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้นใดเลย ดังนั้นข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพทนเค็มต่อเกลือโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM ในขณะที่ข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 มีศักยภาพทนเค็ม ต่อเกลือโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM ข้าว (Rice; Oryza sativa L.) เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมากที่สุดอันดับหนึ่งของโลก ข้าวจัดเป็นพืชที่มีความอ่อนแอต่อสภาวะความเค็มในระยะต้นกล้า โดยสภาวะความเค็มเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผลผลิตข้าวลดลง เนื่องจากมีการสะสมของเกลือโซเดียมคลอไรด์ในดิน ที่มีความเข้มข้นสูง ทำให้เกิดสภาวะเครียดเกลือ และส่งผลต่อการเจริญเติบโตในระยะต้นกล้า ดังนั้นงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นเกลือโซเดียมคลอไรด์ ในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อการงอกของข้าวขาวดอกมะลิ 105 และข้าวปทุมธานี 1 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ 5 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้ำ ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 NaCl 0 mM (ชุดควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 NaCl 25 mM กรรมวิธีที่ 3 NaCl 50 mM กรรมวิธีที่ 4 NaCl 75 mM และกรรมวิธีที่ 5 NaCl 100 mM ผลการทดลองพบว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีดัชนีการงอก ความทนเค็ม และน้ำหนักสด ที่สามารถทนความรุนแรงของเกลือโซเดียมคลอไรด์ได้ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM เปอร์เซ็นต์การดูดน้ำ เปอร์เซ็นต์การงอก ความแข็งแรงของเมล็ด ค่าเฉลี่ยการงอก ความสูงต้น ความยาวราก น้ำหนักแห้ง และการลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM และอัตราการถูกทำลาย สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้น 75 mM ในขณะที่ข้าวปทุมธานี 1 มีเปอร์เซ็นต์การดูดน้ำ ดัชนีการงอก ความแข็งแรงของเมล็ด ค่าเฉลี่ยการงอก ความยาวราก และน้ำหนักสด สามารถทนความรุนแรงของเกลือโซเดียมคลอไรด์ได้ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM อัตราการถูกทำลาย ความสูงต้น น้ำหนักแห้ง และการลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM และเปอร์เซ็นต์การงอก และความทนเค็ม ไม่สามารถทนความรุนแรงได้ที่ระดับความเข้มข้นใดเลย ดังนั้นข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพทนเค็มต่อเกลือโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM ในขณะที่ข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 มีศักยภาพทนเค็ม ต่อเกลือโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM ผลของเกลือ 5 ชนิด ที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโต และลักษณะ ทางสรีรวิทยาของข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 และขาวดอกมะลิ 105 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจ และอาหารที่สำคัญชนิดหนึ่งของโลกแต่ในปัจจุบันประชากรของโลกเพิ่มสูงขึ้นความต้องการอาหารจะเพิ่มขึ้นเกิดภาวะขาดแคลนอาหาร เนื่องจากผลผลิตไม่เพียงพอ ต่อความต้องการเป็นผลมาจากพื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่ประสบปัญหาสภาวะดินเค็มส่งผลต่อ การเจริญเติบโต ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการทนเค็มของข้าวพันธุ์ ปทุมธานี 1 และขาวดอกมะลิ 105 ในเกลือ 5 ชนิด ที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโต และลักษณะ ทางสรีรวิทยา วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) โดยแบ่งออกเป็น 6 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 3 ซ้ำ ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 น้ำกลั่น (ชุดควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 NaCl ที่ความเข้มข้น 50 mM กรรมวิธีที่ 3 MgCl2 ที่ความเข้มข้น 50 mM กรรมวิธีที่4 CaCl2 ที่ความเข้มข้น 50 mM กรรมวิธีที่5 MgSO4 ที่ความเข้มข้น 50 mM และกรรมวิธีที่ 6 Na2SO4 ที่ความเข้มข้น 50 mM ผลการทดลองพบว่า ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพในการทนเค็มต่อเกลือ NaCl ที่ความเข้มข้น 50 mM อัตราการถูกทำลาย ดัชนีการงอก ความแข็งแรงของเมล็ด เปอร์เซ็นการงอก เปอร์เซ็นการดูดน้ำ การลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด ความยาวต้น ความยาวราก น้ำหนักแห้ง น้ำหนักสด ค่าเฉลี่ยการงอก และความทนเค็ม ในขณะที่ข้าวปทุมธานี 1 มีศักยภาพในการทนเค็มเกลือ NaCl ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM อัตราการถูกทำลาย ดัชนีการงอก ความแข็งแรงของเมล็ด เปอร์เซ็นการงอก เปอร์เซ็นการดูดน้ำ การลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด ความยาวต้น ความยาวราก น้ำหนักแห้ง น้ำหนักสด ค่าเฉลี่ยการงอก และความทนเค็ม ดังนั้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพในการทนเค็มเกลือ NaCl ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM ได้ดีกว่าปทุมธานี 1 และเกลือที่มีความรุนแรงต่อข้าว คือเกลือ Na2SO4 ที่ขาวดอกมะลิ 105 สามารถทนได้เพียง 1 ด้าน ในขณะที่ปทุมธานี 1 ไม่สามารถทนความรุนแรงได้ในทุกๆ ด้าน ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจ และอาหารที่สำคัญชนิดหนึ่งของโลกแต่ในปัจจุบันประชากรของโลกเพิ่มสูงขึ้นความต้องการอาหารจะเพิ่มขึ้นเกิดภาวะขาดแคลนอาหาร เนื่องจากผลผลิตไม่เพียงพอ ต่อความต้องการเป็นผลมาจากพื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่ประสบปัญหาสภาวะดินเค็มส่งผลต่อ การเจริญเติบโต ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการทนเค็มของข้าวพันธุ์ ปทุมธานี 1 และขาวดอกมะลิ 105 ในเกลือ 5 ชนิด ที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโต และลักษณะ ทางสรีรวิทยา วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) โดยแบ่งออกเป็น 6 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 3 ซ้ำ ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 น้ำกลั่น (ชุดควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 NaCl ที่ความเข้มข้น 50 mM กรรมวิธีที่ 3 MgCl2 ที่ความเข้มข้น 50 mM กรรมวิธีที่4 CaCl2 ที่ความเข้มข้น 50 mM กรรมวิธีที่5 MgSO4 ที่ความเข้มข้น 50 mM และกรรมวิธีที่ 6 Na2SO4 ที่ความเข้มข้น 50 mM ผลการทดลองพบว่า ข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพในการทนเค็มต่อเกลือ NaCl ที่ความเข้มข้น 50 mM อัตราการถูกทำลาย ดัชนีการงอก ความแข็งแรงของเมล็ด เปอร์เซ็นการงอก เปอร์เซ็นการดูดน้ำ การลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด ความยาวต้น ความยาวราก น้ำหนักแห้ง น้ำหนักสด ค่าเฉลี่ยการงอก และความทนเค็ม ในขณะที่ข้าวปทุมธานี 1 มีศักยภาพในการทนเค็มเกลือ NaCl ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM อัตราการถูกทำลาย ดัชนีการงอก ความแข็งแรงของเมล็ด เปอร์เซ็นการงอก เปอร์เซ็นการดูดน้ำ การลดลงของความสูงแต่ละเมล็ด ความยาวต้น ความยาวราก น้ำหนักแห้ง น้ำหนักสด ค่าเฉลี่ยการงอก และความทนเค็ม ดังนั้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีศักยภาพในการทนเค็มเกลือ NaCl ที่ระดับความเข้มข้น 50 mM ได้ดีกว่าปทุมธานี 1 และเกลือที่มีความรุนแรงต่อข้าว คือเกลือ Na2SO4 ที่ขาวดอกมะลิ 105 สามารถทนได้เพียง 1 ด้าน ในขณะที่ปทุมธานี 1 ไม่สามารถทนความรุนแรงได้ในทุกๆ ด้าน การประเมินความสามารถในการทนเค็มของพริกพันธุ์การค้า 7 พันธุ์ ในสภาพโรงเรือน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช พริก เป็นพืชผักที่สำคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่ง พริกในประเทศไทยมีหลายชนิด ได้แก่ พริกชี้ฟ้า และพริกขี้หนู เป็นต้น ความเค็มเป็นปัญหาหนึ่งทางด้านการเกษตรของประเทศ เพราะพื้นที่ที่มีความเค็มไม่สามารถทำการเกษตรหรือปลูกพืชเศรษฐกิจได้ ทั้งนี้เพราะความเค็ม ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นเกลือ โซเดียมคลอไรด์ ที่ระดับความเข้มข้นต่างกัน ต่อการเจริญเติบโตของพริกพันธุ์การค้า 7 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบบล็อกสุ่มสมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design: RCBD) แบ่งออกเป็น 5 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 1 ต้น ได้แก่ 1.เหลืองลูกผสม 2.เขียวหนุ่มลูกผสม 3.เขียวหนุ่ม 4.แดงจินดา 5.หนุ่มขาวลูกผสม 6.กะเหรี่ยง 7.หยวกลูกผสม ทรีทเมนต์ที่ 1 Control (น้ำกลั่น) ทรีทเมนต์ที่ 2 เกลือ NaCl เข้มข้น 25 mM ทรีทเมนต์ที่ 3 เกลือ NaCl เข้มข้น 50 mM ทรีทเมนต์ที่ 4 เกลือ NaCl เข้มข้น 75 mM ทรีทเมนต์ที่ 5 เกลือ NaCl เข้มข้น 100 mM ผลการทดลองพบว่า พริกพันธุ์เหลืองลูกผสม พริกพันธุ์เขียวหนุ่มลูกผสม และพริกพันธุ์เขียวหนุ่ม สามารถทนความรุนแรงของเกลือ NaCl ได้ในระดับความเข้มข้น 50 mM ในพริกพันธุ์แดงจินดา พริกพันธุ์หนุ่มขาวลูกผสม พริกพันธุ์กะเหรี่ยง และพริกพันธุ์หยวกลูกผสม พบว่า สามารถทนความรุนแรงของเกลือ NaCl ได้ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM ดังนั้น พริกพันธุ์เหลืองลูกผสมพริกพันธุ์เขียวหนุ่มลูกผสม และพริกพันธุ์เขียวหนุ่ม มีศักยภาพในการทนเค็ม 50 mM (NaCl) สมควรส่งเสริมให้กับเกษตรกรที่ปลูกพืชในพื้นที่ที่มีปัญหาดินเค็ม พริก เป็นพืชผักที่สำคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่ง พริกในประเทศไทยมีหลายชนิด ได้แก่ พริกชี้ฟ้า และพริกขี้หนู เป็นต้น ความเค็มเป็นปัญหาหนึ่งทางด้านการเกษตรของประเทศ เพราะพื้นที่ที่มีความเค็มไม่สามารถทำการเกษตรหรือปลูกพืชเศรษฐกิจได้ ทั้งนี้เพราะความเค็ม ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเข้มข้นเกลือ โซเดียมคลอไรด์ ที่ระดับความเข้มข้นต่างกัน ต่อการเจริญเติบโตของพริกพันธุ์การค้า 7 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบบล็อกสุ่มสมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design: RCBD) แบ่งออกเป็น 5 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 1 ต้น ได้แก่ 1.เหลืองลูกผสม 2.เขียวหนุ่มลูกผสม 3.เขียวหนุ่ม 4.แดงจินดา 5.หนุ่มขาวลูกผสม 6.กะเหรี่ยง 7.หยวกลูกผสม ทรีทเมนต์ที่ 1 Control (น้ำกลั่น) ทรีทเมนต์ที่ 2 เกลือ NaCl เข้มข้น 25 mM ทรีทเมนต์ที่ 3 เกลือ NaCl เข้มข้น 50 mM ทรีทเมนต์ที่ 4 เกลือ NaCl เข้มข้น 75 mM ทรีทเมนต์ที่ 5 เกลือ NaCl เข้มข้น 100 mM ผลการทดลองพบว่า พริกพันธุ์เหลืองลูกผสม พริกพันธุ์เขียวหนุ่มลูกผสม และพริกพันธุ์เขียวหนุ่ม สามารถทนความรุนแรงของเกลือ NaCl ได้ในระดับความเข้มข้น 50 mM ในพริกพันธุ์แดงจินดา พริกพันธุ์หนุ่มขาวลูกผสม พริกพันธุ์กะเหรี่ยง และพริกพันธุ์หยวกลูกผสม พบว่า สามารถทนความรุนแรงของเกลือ NaCl ได้ที่ระดับความเข้มข้น 25 mM ดังนั้น พริกพันธุ์เหลืองลูกผสมพริกพันธุ์เขียวหนุ่มลูกผสม และพริกพันธุ์เขียวหนุ่ม มีศักยภาพในการทนเค็ม 50 mM (NaCl) สมควรส่งเสริมให้กับเกษตรกรที่ปลูกพืชในพื้นที่ที่มีปัญหาดินเค็ม การเปรียบเทียบความหลากชนิดของแมลงและวัชพืชในนาข้าวแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดนครนายก | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความหลากชนิดของแมลงและวัชพืชในนาข้าวแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดนครนายก มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบชนิดของแมลงที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ และเพื่อเปรียบเทียบชนิดของวัชพืชที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ เป งานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความหลากชนิดของแมลงและวัชพืชในนาข้าวแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดนครนายก มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบชนิดของแมลงที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ และเพื่อเปรียบเทียบชนิดของวัชพืชที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ เป การคัดแยกเชื้อราละลายฟอสเฟตจากแหล่งธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกเชื้อราในดินจากแหล่งธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตและเพื่อทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศ โดยทาการคัดเลือกเชื้อราในดินจาก 4 แหล่ง ได้แก่ ดินรอบต้นกล้วย ดินรอบต้นไผ่ ดินบริเวณที่มีใบไม้สะสม และดินจากแปลงนา สามารถแยกเชื้อราจากตัวอย่างดินได้ทั้งหมด 25 ไอโซเลท ทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในอาหาร Pikovskaya agar (PVK) โดยพิจารณาจากค่าดัชนีการละลายฟอสเฟต สามารถคัดเลือกไอโซเลทที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือ LEAF2 มีค่าเท่ากับ 2.22 รองลงมาคือ BA4, BA10 และ LEAF4 มีค่าเท่ากับ 2.16, 2.11 และ 2.07 ตามลาดับ และนาเชื้อที่ผ่านการคัดเลือกมาทดสอบผลต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์สีดา โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) ทาการทดลองทั้งหมด 5 ชุดทดลอง ชุดทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 6 ต้น พบว่าเชื้อ BA4 ทาให้ต้นกล้ามะเขือเทศมีการเจริญเติบโตดีที่สุดทั้งในด้านความสูงต้น คือ 45.33 เซนติเมตร ความยาวราก คือ 21.68 เซนติเมตร น้าหนักสดต้น คือ 25.08 เซนติเมตร น้าหนักแห้งต้น คือ 10.28 กรัม น้าหนักสดราก 7.27 กรัม และน้าหนักแห้งราก คือ 2.04 กรัม งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกเชื้อราในดินจากแหล่งธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตและเพื่อทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศ โดยทาการคัดเลือกเชื้อราในดินจาก 4 แหล่ง ได้แก่ ดินรอบต้นกล้วย ดินรอบต้นไผ่ ดินบริเวณที่มีใบไม้สะสม และดินจากแปลงนา สามารถแยกเชื้อราจากตัวอย่างดินได้ทั้งหมด 25 ไอโซเลท ทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในอาหาร Pikovskaya agar (PVK) โดยพิจารณาจากค่าดัชนีการละลายฟอสเฟต สามารถคัดเลือกไอโซเลทที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือ LEAF2 มีค่าเท่ากับ 2.22 รองลงมาคือ BA4, BA10 และ LEAF4 มีค่าเท่ากับ 2.16, 2.11 และ 2.07 ตามลาดับ และนาเชื้อที่ผ่านการคัดเลือกมาทดสอบผลต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์สีดา โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) ทาการทดลองทั้งหมด 5 ชุดทดลอง ชุดทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 6 ต้น พบว่าเชื้อ BA4 ทาให้ต้นกล้ามะเขือเทศมีการเจริญเติบโตดีที่สุดทั้งในด้านความสูงต้น คือ 45.33 เซนติเมตร ความยาวราก คือ 21.68 เซนติเมตร น้าหนักสดต้น คือ 25.08 เซนติเมตร น้าหนักแห้งต้น คือ 10.28 กรัม น้าหนักสดราก 7.27 กรัม และน้าหนักแห้งราก คือ 2.04 กรัม ผลของ BA KN และ TDZ ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สกุลหวายในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากการศึกษาผลของ BA KN และ TDZ ในสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้ด่างในสภาพปลอดเชื้อ โดยนาส่วนใบมาสับขนาด 1-2 มิลลิเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส หลังจากทาการย้ายเลี้ยง เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการเกิดใบด่างเท่ากับ 41.66 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่สูตรอาหาร MS เติม BA ระดับความเข้มข้น 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร มีอัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 91.66 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5, 1 และ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุด เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 66.66 เปอร์เซ็นต์ ในทางตรงข้าม สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาผลของ BA KN และ TDZ ในสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้ด่างในสภาพปลอดเชื้อ โดยนาส่วนใบมาสับขนาด 1-2 มิลลิเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส หลังจากทาการย้ายเลี้ยง เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการเกิดใบด่างเท่ากับ 41.66 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่สูตรอาหาร MS เติม BA ระดับความเข้มข้น 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร มีอัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 91.66 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5, 1 และ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุด เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 66.66 เปอร์เซ็นต์ ในทางตรงข้าม สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ ผลของหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกหนุ่มขาว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลของหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกหนุ่มขาว โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ (randomized completely block design) 4 ทรีทเมนต์ (ปริมาตรหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า) ทรีทเมนต์ ละ 10 ตัวอย่าง คือ ไม่ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า (ชุดควบคุม) ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 30 60 และ 90 มิลลิลิตรต่อต้น พร้อมการย้ายต้นกล้าพริกอายุ 22 และ 50 วัน บันทึกข้อมูลทุกๆ 2 สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 120 วันหลังการเพาะเมล็ด พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมีแนวโน้มท้าให้ต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 วัน มีกิ่งแขนงที่มากขึ้น วันออกดอกที่เร็วขึ้น และท้าให้จ้านวนผลของต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 และ 50 วัน มีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ นอกจากนี้การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่ากับต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 50 วัน พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าปริมาตร 30 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีความสูงมากที่สุดเท่ากับ 68.70 เซนติเมตร และการใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 60 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีค่าเฉลี่ยจ้านวนใบ น้้าหนักสดและน้้าหนักแห้งของทั้งต้น และเฉพาะส่วนรากสูงที่สุดเท่ากับ 173.00 ใบ 149.00 กรัมน้้าหนักสดทั้งต้น 22.29 กรัมน้้าหนักแห้งทั้งต้น 13.97 กรัมน้้าหนักสดเฉพาะส่วนราก และ 2.03 กรัมน้้าหนักแห้งเฉพาะส่วนราก ตามล้าดับ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลของหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกหนุ่มขาว โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ (randomized completely block design) 4 ทรีทเมนต์ (ปริมาตรหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า) ทรีทเมนต์ ละ 10 ตัวอย่าง คือ ไม่ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า (ชุดควบคุม) ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 30 60 และ 90 มิลลิลิตรต่อต้น พร้อมการย้ายต้นกล้าพริกอายุ 22 และ 50 วัน บันทึกข้อมูลทุกๆ 2 สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 120 วันหลังการเพาะเมล็ด พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมีแนวโน้มท้าให้ต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 วัน มีกิ่งแขนงที่มากขึ้น วันออกดอกที่เร็วขึ้น และท้าให้จ้านวนผลของต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 และ 50 วัน มีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ นอกจากนี้การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่ากับต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 50 วัน พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าปริมาตร 30 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีความสูงมากที่สุดเท่ากับ 68.70 เซนติเมตร และการใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 60 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีค่าเฉลี่ยจ้านวนใบ น้้าหนักสดและน้้าหนักแห้งของทั้งต้น และเฉพาะส่วนรากสูงที่สุดเท่ากับ 173.00 ใบ 149.00 กรัมน้้าหนักสดทั้งต้น 22.29 กรัมน้้าหนักแห้งทั้งต้น 13.97 กรัมน้้าหนักสดเฉพาะส่วนราก และ 2.03 กรัมน้้าหนักแห้งเฉพาะส่วนราก ตามล้าดับ อิทธิพลของรังสีแกมมาต่อการพัฒนาพันธุ์คาลล่าลิลลี่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คาลล่าลิลลี่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ปัจจุบันมีการนามาปลูกในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ใหม่ในพืชสามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ หรือทาให้เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีชนิดต่าง ๆ หรือสารเคมี ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงชักนาให้เกิดการกลายในต้นคาลล่าลิลลี่ ในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันโดยนาชิ้นส่วนของต้นคาลล่าลิลลี่ เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลานาน 14 วัน มาฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0 20 40 และ 60 เกรย์ ผลการศึกษาพบว่าเมื่อปริมาณรังสีแกมมาที่เพิ่มสูงขึ้นจะทาให้อัตราการรอดชีวิตของชิ้นส่วนพืชลดต่าลง คือที่ปริมาณรังสี 20 40 และ 60 เกรย์ มีอัตราการรอดชีวิต 100 80 และ 65 เปอร์เซ็น ตามลาดับ (20 16 และ 13 ต้น) ที่ปริมาณรังสี 60 เกรย์ พบลักษณะต้นอ่อนที่เกิดใหม่มีขนาดเล็ก แคระแกร็น หรือต้นมีสีน้าตาล และพบลักษณะต้นกลายทั้งหมด 6 ต้น (จากปริมาณรังสี 20 และ 40 เกรย์) คิดเป็น 15 และ 17 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งมีลักษณะใบหงิกงอ และมีแถบใบขาวตรงบริเวณขอบใบ คาลล่าลิลลี่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ปัจจุบันมีการนามาปลูกในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ใหม่ในพืชสามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ หรือทาให้เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีชนิดต่าง ๆ หรือสารเคมี ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงชักนาให้เกิดการกลายในต้นคาลล่าลิลลี่ ในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันโดยนาชิ้นส่วนของต้นคาลล่าลิลลี่ เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลานาน 14 วัน มาฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0 20 40 และ 60 เกรย์ ผลการศึกษาพบว่าเมื่อปริมาณรังสีแกมมาที่เพิ่มสูงขึ้นจะทาให้อัตราการรอดชีวิตของชิ้นส่วนพืชลดต่าลง คือที่ปริมาณรังสี 20 40 และ 60 เกรย์ มีอัตราการรอดชีวิต 100 80 และ 65 เปอร์เซ็น ตามลาดับ (20 16 และ 13 ต้น) ที่ปริมาณรังสี 60 เกรย์ พบลักษณะต้นอ่อนที่เกิดใหม่มีขนาดเล็ก แคระแกร็น หรือต้นมีสีน้าตาล และพบลักษณะต้นกลายทั้งหมด 6 ต้น (จากปริมาณรังสี 20 และ 40 เกรย์) คิดเป็น 15 และ 17 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งมีลักษณะใบหงิกงอ และมีแถบใบขาวตรงบริเวณขอบใบ อิทธิพลของสารละลายปักแจกัน (Holding Solution) ที่มีต่ออายุการปักแจกัน ของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนำดอกกุหลาบสีขาวดอกใหญ่มาย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) แล้วนำมาปักแจกันในสารละลายต่างๆวางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ (Tretment) 3 ซ้ำ (Replication) โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้ ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ำกลั่น (Control) ทรีตเมนต์ที่ 2 เอทานอล 2% + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 3 กรดซิตริก 150 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 4 กรดซาลิไซลิก300 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ผลการทดลองครั้งนี้พบว่า อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) ทรีตเมนต์ที่ 2 และทรีตเมนต์ที่ 4 มีอายุการปักแจกันนานที่สุด คือ 5.06 วันรองลงมาคือทรีตเมนต์ที่ 3 และ 1 มีอายุการปักแจกัน 4.93 และ 3.73 วันตามลำดับ ทรีตเมนต์ที่ 2 ทรีตเมนต์ ที่ 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1ปริมาณการดูดน้ำของทุกทรีตเมนต์เริ่มที่ 0 มิลลิลิตร โดยวันที่ 2 และวันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบ วันที่ 0 และวันที่ 1 ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยวันที่ 2 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 3และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุก ทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 คะแนนความสด หลังจากย้อมสีแล้ว ทุกทรีตเมนต์ มีคะแนนความสดเท่ากับ 5 ซึ่งเป็นคะแนนที่ดีมาก และคะแนนจะลดลงเรื่อยๆในวันต่อมาจนสิ้นสุดการทดลองเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักสดของดอกกุหลาบทุกทรีตเมนต์จะเริ่มที่ 100 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นในวันที่ 2 และวันที่ 3 แต่ทรีตเมนต์ที่ 1 ของวันที่ 3 มีน้ำหนักลดลงจาก 104.70 เป็น 102.57 เปอร์เซ็นต์ ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังจากนั้นในวันที่ 4 ถึง วันที่ 7 ทุกทรีตเมนต์มีน้ำหนักลดลง โดย ทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้ำหนักลดลงมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทุกทรีตเมนต์ ค่า L ของดอกกุหลาบในวันที่ 0 ถึงวันที่ 7 ค่าความสว่างของสี ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติและค่า a ของดอกกุหลาบในวันที่ 1 ถึงวันที่ 7 ค่า a ของทุกทรีตเมนต์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ การทดลองนำดอกกุหลาบสีขาวดอกใหญ่มาย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) แล้วนำมาปักแจกันในสารละลายต่างๆวางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ (Tretment) 3 ซ้ำ (Replication) โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้ ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ำกลั่น (Control) ทรีตเมนต์ที่ 2 เอทานอล 2% + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 3 กรดซิตริก 150 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 4 กรดซาลิไซลิก300 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ผลการทดลองครั้งนี้พบว่า อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) ทรีตเมนต์ที่ 2 และทรีตเมนต์ที่ 4 มีอายุการปักแจกันนานที่สุด คือ 5.06 วันรองลงมาคือทรีตเมนต์ที่ 3 และ 1 มีอายุการปักแจกัน 4.93 และ 3.73 วันตามลำดับ ทรีตเมนต์ที่ 2 ทรีตเมนต์ ที่ 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1ปริมาณการดูดน้ำของทุกทรีตเมนต์เริ่มที่ 0 มิลลิลิตร โดยวันที่ 2 และวันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบ วันที่ 0 และวันที่ 1 ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยวันที่ 2 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 3และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุก ทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 คะแนนความสด หลังจากย้อมสีแล้ว ทุกทรีตเมนต์ มีคะแนนความสดเท่ากับ 5 ซึ่งเป็นคะแนนที่ดีมาก และคะแนนจะลดลงเรื่อยๆในวันต่อมาจนสิ้นสุดการทดลองเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักสดของดอกกุหลาบทุกทรีตเมนต์จะเริ่มที่ 100 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นในวันที่ 2 และวันที่ 3 แต่ทรีตเมนต์ที่ 1 ของวันที่ 3 มีน้ำหนักลดลงจาก 104.70 เป็น 102.57 เปอร์เซ็นต์ ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังจากนั้นในวันที่ 4 ถึง วันที่ 7 ทุกทรีตเมนต์มีน้ำหนักลดลง โดย ทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้ำหนักลดลงมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทุกทรีตเมนต์ ค่า L ของดอกกุหลาบในวันที่ 0 ถึงวันที่ 7 ค่าความสว่างของสี ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติและค่า a ของดอกกุหลาบในวันที่ 1 ถึงวันที่ 7 ค่า a ของทุกทรีตเมนต์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ผลของหัวเชื้อชนิดน้ำเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกขี้หนูสวน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช - - การศึกษาสารอาหารที่ใส่ในอาหารวุ้นเพื่อการเจริญเติบโตของ เส้นใยเห็ดชนิดต่างๆ ที่รับประทานได้ 3 ชนิด คือ เห็ดนางฟ้าภูฐานดา (Pleurotus sajor – caju (Fr.) Sing.) เห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus (Fr.) Kummer.) และเห็ดขอนขาว (Lentinus squarrosulus Mont.) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสารอาหารที่ใส่ในอาหารวุ้นเพื่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดชนิดต่างๆ ที่รับประทานได้ 3 ชนิด คือ เห็ดนางฟ้าภูฐานดา เห็ดนางรมและเห็ดขอนขาวโดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design, CRD) โดยมีสารอาหาร 5 ชนิด (Treatment) คือ มันฝรั่ง, มันเทศ, น้ามะพร้าว, ฟักทอง, ลูกเดือย ทาการทดลอง 3 ซ้า (Replication) ดังนี้คือ การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสารอาหารที่ใส่ในอาหารวุ้นเพื่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดชนิดต่างๆ ที่รับประทานได้ 3 ชนิด คือ เห็ดนางฟ้าภูฐานดา เห็ดนางรมและเห็ดขอนขาวโดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design, CRD) โดยมีสารอาหาร 5 ชนิด (Treatment) คือ มันฝรั่ง, มันเทศ, น้ามะพร้าว, ฟักทอง, ลูกเดือย ทาการทดลอง 3 ซ้า (Replication) ดังนี้คือ อิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งชนิดต่างๆที่มีผลต่อการยืดอายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีเขียว ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วนาไปปักแจกันในน้ากลั่น โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ใช้ดอกกุหลาบทั้งหมด 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆ ดังนี้ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งชนิดต่างๆที่มีผลต่อการยืดอายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีเขียว ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วนาไปปักแจกันในน้ากลั่น โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ใช้ดอกกุหลาบทั้งหมด 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆ ดังนี้ ผลของ BA และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้ตอติเล ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ BA และ IAA เพื่อให้ได้ความเข้มข้นที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโต ของกล้วยไม้ตอติเล โดยนาโปรโตคอร์มไลท์บอดี้ขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุด 0.85 เซนติเมตร และ 11.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 1 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวน รากมากที่สุด 6.91 รากต่อต้น หากระดับความเข้มข้นของ IAA มากกว่า 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลทาให้การชักนารากลดน้อยลงเนื่องจากเกิดการสร้างแคลลัส การศึกษาผลของ BA และ IAA เพื่อให้ได้ความเข้มข้นที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโต ของกล้วยไม้ตอติเล โดยนาโปรโตคอร์มไลท์บอดี้ขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุด 0.85 เซนติเมตร และ 11.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 1 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวน รากมากที่สุด 6.91 รากต่อต้น หากระดับความเข้มข้นของ IAA มากกว่า 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลทาให้การชักนารากลดน้อยลงเนื่องจากเกิดการสร้างแคลลัส อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการชักนาต้นพิงกุยจากแผ่นใบ และระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช พิงกุยคูล่า (Pinguicula) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ บัตเตอร์เวิร์ด (Butterworth) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae สกุล Pinguicula มีการกระจายพันธุ์เกือบทั่วโลก แต่จะพบทางซีกโลกเหนือ แถบเม็กซิโกและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ สามารถนามาปลูกเลี้ยงได้ในประเทศไทยเนื่องจากในปัจจุบันมีการนาเข้ามาปลูกเลี้ยง และจาหน่ายเป็นไม้ประดับในประเทศไทย ต้นพิงกุยคูล่ามีลักษณะพิเศษ คือเป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชกินแมลงหรือพืชกินสัตว์ ดังนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งที่จะนามาขยายพันธุ์ให้มีการเพิ่มจานวนมากขึ้น และทาให้รวดเร็วเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด การทดลองนี้ทาเพื่อศึกษาการเกิดจานวนยอดโดยการใช้แผ่นใบเลี้ยงบนอาหาร Murashige and Skoog (MS) ร่วมกับ 6-Benzyladenine (BA) ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอดบนแผ่นใบ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 5 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 4 สัปดาห์สูตรอาหาร MS ร่วมกับ BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตรให้จานวนยอดบนแผ่นใบเฉลี่ยมากที่สุด 18.92±2.34 ยอด และการศึกษาระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวจานวน 1 ครั้ง/วัน 2 ครั้ง/วัน 3 ครั้ง/วัน ครั้งละ 2 นาที วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 8 สัปดาห์การเจริญเติบโตของพิงกุยคูล่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ พิงกุยคูล่า (Pinguicula) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ บัตเตอร์เวิร์ด (Butterworth) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae สกุล Pinguicula มีการกระจายพันธุ์เกือบทั่วโลก แต่จะพบทางซีกโลกเหนือ แถบเม็กซิโกและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ สามารถนามาปลูกเลี้ยงได้ในประเทศไทยเนื่องจากในปัจจุบันมีการนาเข้ามาปลูกเลี้ยง และจาหน่ายเป็นไม้ประดับในประเทศไทย ต้นพิงกุยคูล่ามีลักษณะพิเศษ คือเป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชกินแมลงหรือพืชกินสัตว์ ดังนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งที่จะนามาขยายพันธุ์ให้มีการเพิ่มจานวนมากขึ้น และทาให้รวดเร็วเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด การทดลองนี้ทาเพื่อศึกษาการเกิดจานวนยอดโดยการใช้แผ่นใบเลี้ยงบนอาหาร Murashige and Skoog (MS) ร่วมกับ 6-Benzyladenine (BA) ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอดบนแผ่นใบ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 5 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 4 สัปดาห์สูตรอาหาร MS ร่วมกับ BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตรให้จานวนยอดบนแผ่นใบเฉลี่ยมากที่สุด 18.92±2.34 ยอด และการศึกษาระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวจานวน 1 ครั้ง/วัน 2 ครั้ง/วัน 3 ครั้ง/วัน ครั้งละ 2 นาที วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 8 สัปดาห์การเจริญเติบโตของพิงกุยคูล่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยเลี้ยงเชื้อเห็ดบนก้อนอาหารที่มีส่วนผสมของใบกระถิน 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ก้อนอาหารสูตรที่ 2 ขี้เลื่อยผสมของใบกระถิน 5 เปอร์เซ็นต์ ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 18.19 เซนติเมตร หลังจากการเพาะเป็นเวลา 31 วัน ในเวลา 3 เดือน ให้ผลผลิตรวม 13 ครั้ง โดยให้จานวนดอกมากสุดเฉลี่ย 5.12 ดอกต่อครั้ง และให้น้าหนักมากสุดเฉลี่ย 47.70 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากสุดในสูตรที่ 1 ขี้เลื่อย 100 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 6.93 เซนติเมตร ความยาวก้านมากสุดในสูตรที่ 3 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 10 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 10.84 เซนติเมตร ความกว้างก้านมากสุดในสูตรที่ 5 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 20 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 1.81 เซนติเมตร การศึกษาผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยเลี้ยงเชื้อเห็ดบนก้อนอาหารที่มีส่วนผสมของใบกระถิน 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ก้อนอาหารสูตรที่ 2 ขี้เลื่อยผสมของใบกระถิน 5 เปอร์เซ็นต์ ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 18.19 เซนติเมตร หลังจากการเพาะเป็นเวลา 31 วัน ในเวลา 3 เดือน ให้ผลผลิตรวม 13 ครั้ง โดยให้จานวนดอกมากสุดเฉลี่ย 5.12 ดอกต่อครั้ง และให้น้าหนักมากสุดเฉลี่ย 47.70 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากสุดในสูตรที่ 1 ขี้เลื่อย 100 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 6.93 เซนติเมตร ความยาวก้านมากสุดในสูตรที่ 3 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 10 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 10.84 เซนติเมตร ความกว้างก้านมากสุดในสูตรที่ 5 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 20 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 1.81 เซนติเมตร ผลของสารในกลุ่มออกซินต่อการเกิดรากและเจริญเติบโตของมันเทศประดับ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มันเทศประดับเป็นไม้ประดับที่มีลักษณะใบที่สวยงาม ปลูกเลี้ยงง่าย และปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเพื่อใช้ในการประดับตกแต่งในรูปแบบไม้กระถาง ไม้ประดับแปลง แต่มีปัญหาในการขยายพันธุ์มันเทศประดับ คือการออกรากไม่สม่่าเสมอในระหว่างการตัดช่า จึงท่าการทดลองนี้เพื่อศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มออกซินต่อการเกิดราก และการเจริญเติบโตของมันเทศประดับ โดยใช้สาร 3 ชนิด คือ IAA NAA และ IBA ที่ระดับความเข้มข้นของสารแต่ละชนิด คือ 500 1000 และ 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร และให้น้่ากลั่นเป็นชุดควบคุม โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มี 10 สิ่งทดลอง การทดลองละ 15 ซ้่า ซ้่าละ 1 กิ่ง พบว่าสารในกลุ่มออกซิน แต่ละชนิดไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นการเกิดรากของมันเทศประดับ แต่ความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดในการชักน่าให้เกิดรากและความยาวรากเฉลี่ยสูงที่สุดคือการใช้ IBA 1000 มิลลิกรัมต่อลิตร (18.75 ± 6.86 ราก) และยาวที่สุด (17.50 ± 8.33 ซม) IAA 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถท่าให้ต้นมันเทศมีความยาวและกิ่งแขนงมากที่สุด (20.00 ± 2.76 และ 1.80 ± 0.73 กิ่ง ตามล่าดับ) และ IAA 500 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถท่าให้ต้นมันเทศมีขนาดความกว้างและความยาวใบเฉลี่ยใหญ่ที่สุด (7.34 ± 0.65 และ9.60 ± 1.51 เซนติเมตร ตามล่าดับ) มันเทศประดับเป็นไม้ประดับที่มีลักษณะใบที่สวยงาม ปลูกเลี้ยงง่าย และปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเพื่อใช้ในการประดับตกแต่งในรูปแบบไม้กระถาง ไม้ประดับแปลง แต่มีปัญหาในการขยายพันธุ์มันเทศประดับ คือการออกรากไม่สม่่าเสมอในระหว่างการตัดช่า จึงท่าการทดลองนี้เพื่อศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มออกซินต่อการเกิดราก และการเจริญเติบโตของมันเทศประดับ โดยใช้สาร 3 ชนิด คือ IAA NAA และ IBA ที่ระดับความเข้มข้นของสารแต่ละชนิด คือ 500 1000 และ 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร และให้น้่ากลั่นเป็นชุดควบคุม โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มี 10 สิ่งทดลอง การทดลองละ 15 ซ้่า ซ้่าละ 1 กิ่ง พบว่าสารในกลุ่มออกซิน แต่ละชนิดไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นการเกิดรากของมันเทศประดับ แต่ความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดในการชักน่าให้เกิดรากและความยาวรากเฉลี่ยสูงที่สุดคือการใช้ IBA 1000 มิลลิกรัมต่อลิตร (18.75 ± 6.86 ราก) และยาวที่สุด (17.50 ± 8.33 ซม) IAA 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถท่าให้ต้นมันเทศมีความยาวและกิ่งแขนงมากที่สุด (20.00 ± 2.76 และ 1.80 ± 0.73 กิ่ง ตามล่าดับ) และ IAA 500 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถท่าให้ต้นมันเทศมีขนาดความกว้างและความยาวใบเฉลี่ยใหญ่ที่สุด (7.34 ± 0.65 และ9.60 ± 1.51 เซนติเมตร ตามล่าดับ) ผลของ BA และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิ ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากการศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิ พบว่าอัตราการรอดชีวิต ความสูง จานวนใบ จานวนยอด และจานวนรากของข้อโฮย่าจักรพรรดิ โดยการนาชิ้นส่วนข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 50 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง จานวนใบ และจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 2.88 เซนติเมตร 7.91 ใบต่อต้น และ 1.91 รากต่อต้น ตามลาดับ เมื่อนายอดของต้นโฮย่าจักรพรรดิมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 และ 0.75 ให้อัตราการรอดชีวิต และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 91.7 เปอร์เซ็นต์ และ 6.83 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง จานวนราก และจานวนยอดมากที่สุดเท่ากับ 4.01 เซนติเมตร 5.00 รากต่อต้น 2.25 ยอดต่อต้น ตามลาดับ จากการศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิ พบว่าอัตราการรอดชีวิต ความสูง จานวนใบ จานวนยอด และจานวนรากของข้อโฮย่าจักรพรรดิ โดยการนาชิ้นส่วนข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 50 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง จานวนใบ และจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 2.88 เซนติเมตร 7.91 ใบต่อต้น และ 1.91 รากต่อต้น ตามลาดับ เมื่อนายอดของต้นโฮย่าจักรพรรดิมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 และ 0.75 ให้อัตราการรอดชีวิต และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 91.7 เปอร์เซ็นต์ และ 6.83 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง จานวนราก และจานวนยอดมากที่สุดเท่ากับ 4.01 เซนติเมตร 5.00 รากต่อต้น 2.25 ยอดต่อต้น ตามลาดับ การชักนาให้กล้วยไข่เกิดการกลายในระบบไบโอรีแอคเตอร์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช กล้วยไข่ Musa Sapientum เป็นไม้ผลที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและผูกพันกับประเพณีของไทยมานาน และเป็นกล้วยที่นิยมปลูกกันมากชนิดหนึ่งในประเทศไทยเนื่องจากมีรสชาติหวาน ในปัจจุบันนี้กล้วยไข่ เป็นผลไม้ที่มีศักยภาพในการส่งออกชนิดหนึ่งเนื่องจากมีผลขนาดเล็ก แตกต่างไปจากกล้วยในตลาดการค้าสากลซึ่งเป็นกลุ่ม Cavendish ที่มีผลขนาดใหญ่ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะให้ความสนใจเพิ่มขึ้นกับกล้วยที่มีผลขนาดเล็กทาให้ประเทศไทยมีโอกาสผลิตและส่งกล้วยไข่ไปขายในตลาดประเทศ การทดลองนี้เพื่อศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้วยไข่ในระบบไบโอรีแอคเตอร์ที่ได้รับสารออไรซาลินวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized Design, CRD) มีจานวน 10 สิ่งทดลองทดลองจานวน 5 ซ้า เป็นเวลา 1, 3 และ 5 วัน ในความเข้มข้น 0, 1, 3และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นที่มีจานวนใบมากที่สุดคือความเข้มขัน 1 มิลลิกรัมต่อลิต นาน 3 วัน มีการแตกใบเฉลี่ย 4.00 ต้นที่มีความสูงต้นน้อยที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความสูงเฉลี่ย 0.90 เซนติเมตร ต้นที่มีจานวนรากมากที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน มีจานวนรากเฉลี่ย 4.40 ราก ต้นที่มีความยาวรากมากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความยาวรากเฉลี่ย 4.40 เซนติเมตร ต้นที่มีความยาวใบมากที่สุด มีความเข้มข้น 0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความยาวรากเฉลี่ย 2.82 เซนติเมตร ต้นที่มีความกว้างใบ มากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน เท่ากับควบคุม มีความกว้างเฉลี่ย 1.30 เซนติเมตร กล้วยไข่ Musa Sapientum เป็นไม้ผลที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและผูกพันกับประเพณีของไทยมานาน และเป็นกล้วยที่นิยมปลูกกันมากชนิดหนึ่งในประเทศไทยเนื่องจากมีรสชาติหวาน ในปัจจุบันนี้กล้วยไข่ เป็นผลไม้ที่มีศักยภาพในการส่งออกชนิดหนึ่งเนื่องจากมีผลขนาดเล็ก แตกต่างไปจากกล้วยในตลาดการค้าสากลซึ่งเป็นกลุ่ม Cavendish ที่มีผลขนาดใหญ่ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะให้ความสนใจเพิ่มขึ้นกับกล้วยที่มีผลขนาดเล็กทาให้ประเทศไทยมีโอกาสผลิตและส่งกล้วยไข่ไปขายในตลาดประเทศ การทดลองนี้เพื่อศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้วยไข่ในระบบไบโอรีแอคเตอร์ที่ได้รับสารออไรซาลินวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized Design, CRD) มีจานวน 10 สิ่งทดลองทดลองจานวน 5 ซ้า เป็นเวลา 1, 3 และ 5 วัน ในความเข้มข้น 0, 1, 3และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นที่มีจานวนใบมากที่สุดคือความเข้มขัน 1 มิลลิกรัมต่อลิต นาน 3 วัน มีการแตกใบเฉลี่ย 4.00 ต้นที่มีความสูงต้นน้อยที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความสูงเฉลี่ย 0.90 เซนติเมตร ต้นที่มีจานวนรากมากที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน มีจานวนรากเฉลี่ย 4.40 ราก ต้นที่มีความยาวรากมากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความยาวรากเฉลี่ย 4.40 เซนติเมตร ต้นที่มีความยาวใบมากที่สุด มีความเข้มข้น 0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความยาวรากเฉลี่ย 2.82 เซนติเมตร ต้นที่มีความกว้างใบ มากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน เท่ากับควบคุม มีความกว้างเฉลี่ย 1.30 เซนติเมตร การศึกษาผลของรังสีแกมมาต่อการกลายพันธุ์ของเปเปอร์มินท์ บนอาหารสังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช เปปเปอร์มินท์ เป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรตระกูลมินท์ ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก ด้วยความหอมสดชื่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งกลิ่นและรสชาติ จึงถูกนำมาเป็นส่วนผสมในหลากหลายผลิตภัณฑ์ ในการศึกษาผลของรังสีแกมมาที่มีต่อการเจริญเติบโตและลักษณะสัณฐานวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของต้นเปเปอร์มินท์ โดยการพะเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนของลำต้นซึ่งผ่านการฉายรังสีแบบเฉียบพลัน ที่ระดับรังสี 0, 20, 40, 60, 80, และ100 เกรย์ และฉายรังสีซ้ำที่ระดับ 0+0, 20+20, 40+40, และ 60+60 เกรย์ โดยนำชิ้นส่วนในสภาพปลอดเชื้อ เลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS. 1962) จากการศึกษาผลของรังสีแกกมมาที่มีผลต่อการเติบโตและการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาสรุปได้ว่า ในปริมาณรังสีที่ส่งผลให้ต้นเปเปอร์มินท์เจริญเติบโตได้ดีที่สุดอยู่ที่ระดับรังสี 0 เกรย์ และระดับรังสีแกมมาที่ส่งผลต่อการกลายพันธุ์ของต้นเปเปอร์มินท์ได้ดีที่สุดที่ระดับรังสี 40+40 เกรย์ เปปเปอร์มินท์ เป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรตระกูลมินท์ ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก ด้วยความหอมสดชื่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งกลิ่นและรสชาติ จึงถูกนำมาเป็นส่วนผสมในหลากหลายผลิตภัณฑ์ ในการศึกษาผลของรังสีแกมมาที่มีต่อการเจริญเติบโตและลักษณะสัณฐานวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของต้นเปเปอร์มินท์ โดยการพะเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนของลำต้นซึ่งผ่านการฉายรังสีแบบเฉียบพลัน ที่ระดับรังสี 0, 20, 40, 60, 80, และ100 เกรย์ และฉายรังสีซ้ำที่ระดับ 0+0, 20+20, 40+40, และ 60+60 เกรย์ โดยนำชิ้นส่วนในสภาพปลอดเชื้อ เลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS. 1962) จากการศึกษาผลของรังสีแกกมมาที่มีผลต่อการเติบโตและการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาสรุปได้ว่า ในปริมาณรังสีที่ส่งผลให้ต้นเปเปอร์มินท์เจริญเติบโตได้ดีที่สุดอยู่ที่ระดับรังสี 0 เกรย์ และระดับรังสีแกมมาที่ส่งผลต่อการกลายพันธุ์ของต้นเปเปอร์มินท์ได้ดีที่สุดที่ระดับรังสี 40+40 เกรย์ การทดสอบการงอกของเมล็ดดอกผีเสื้อ 2 สายพันธุ์ในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดดอกผีเสื้อสายพันธุ์ Red Deep และ Pink Light ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติ 2) ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด 3) ตรวจสอบวันที่เมล็ดเริ่มงอก ทาการทดลองที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยเพาะเมล็ดดอกผีเสื้อทั้ง 2 สายพันธุ์บนวัสดุเพาะประกอบด้วยพีทมอส: ขุยมะพร้าว: ปุ๋ยหมักในสัดส่วน 1:1:0.5 มี 4 กรรมวิธี 4 ซ้า วางแผนการทดลองแบบ CRD เป็นเวลา 10 วัน ผลการทดลองพบว่า เมล็ดดอกผีเสื้อ Red Deep ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติมีเปอร์เซ็นต์งอก 100 % และ 84.6% (P<.05) และเริ่มงอกในวันที่ 4 และ 3 หลังเพาะตามลาดับ ส่วนเมล็ดดอกผีเสื้อ Pink Light มีอัตราการงอกใกล้เคียงกันคือ 93.2 % ในโรงเรือนบ่มและ 92.8% ในโรงเรือนปกติ และเริ่มงอกวันที่ 4 พร้อมกัน โรงเรือนทั้งสองมีอุณหภูมิช่วงเช้าใกล้เคียงกัน แต่ช่วงกลางวันโรงเรือนบ่มมีอุณหภูมิต่ากว่าโรงเรือนปกติ คือ 24.43 องศาเซลเซียส และ 26 องศาเซลเซียส ส่วนอุณหภูมิกลางคืนในโรงเรือนบ่มมีค่าสูงกว่าโรงเรือนปกติ คือ 19.64 องศาเซลเซียส และ 18.07 องศาเซลเซียสตามลาดับ และโรงเรือนทั้งสองมีความชื้นสัมพัทธ์เท่ากันในช่วงเช้าและกลางคืน คือ ร้อยละ 91.0 แต่ในช่วงกลางวัน โรงเรือนบ่มมีความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าโรงเรือนปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือร้อยละ 88.71 และ 75.71 การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดดอกผีเสื้อสายพันธุ์ Red Deep และ Pink Light ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติ 2) ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด 3) ตรวจสอบวันที่เมล็ดเริ่มงอก ทาการทดลองที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยเพาะเมล็ดดอกผีเสื้อทั้ง 2 สายพันธุ์บนวัสดุเพาะประกอบด้วยพีทมอส: ขุยมะพร้าว: ปุ๋ยหมักในสัดส่วน 1:1:0.5 มี 4 กรรมวิธี 4 ซ้า วางแผนการทดลองแบบ CRD เป็นเวลา 10 วัน ผลการทดลองพบว่า เมล็ดดอกผีเสื้อ Red Deep ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติมีเปอร์เซ็นต์งอก 100 % และ 84.6% (P<.05) และเริ่มงอกในวันที่ 4 และ 3 หลังเพาะตามลาดับ ส่วนเมล็ดดอกผีเสื้อ Pink Light มีอัตราการงอกใกล้เคียงกันคือ 93.2 % ในโรงเรือนบ่มและ 92.8% ในโรงเรือนปกติ และเริ่มงอกวันที่ 4 พร้อมกัน โรงเรือนทั้งสองมีอุณหภูมิช่วงเช้าใกล้เคียงกัน แต่ช่วงกลางวันโรงเรือนบ่มมีอุณหภูมิต่ากว่าโรงเรือนปกติ คือ 24.43 องศาเซลเซียส และ 26 องศาเซลเซียส ส่วนอุณหภูมิกลางคืนในโรงเรือนบ่มมีค่าสูงกว่าโรงเรือนปกติ คือ 19.64 องศาเซลเซียส และ 18.07 องศาเซลเซียสตามลาดับ และโรงเรือนทั้งสองมีความชื้นสัมพัทธ์เท่ากันในช่วงเช้าและกลางคืน คือ ร้อยละ 91.0 แต่ในช่วงกลางวัน โรงเรือนบ่มมีความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าโรงเรือนปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือร้อยละ 88.71 และ 75.71 อิทธิพลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว 3 พันธุ์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของอิทธิพลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ต่อการงอกของเมล็ดข้าว 3 พันธุ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ท้า 4 ซ้า โดยเปรียบเทียบระหว่างเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก และระดับความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่แตกต่าง 5 ระดับ (0, 50, 100, 150 และ 200 ppm.) น้าเมล็ดไปวางในกล่องทดลองโดยวิธี Top of paper รดน้าเมล็ดด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ในการทดลอง จากการทดลองพบว่า ข้าวขาวดอกมะลิ 105 (เมล็ดแห้ง) มีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสูดที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. เท่ากับ 93.00 % แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับที่ระดับ 50, 100 และ 150 ppm. และเมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก พบว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์การงอกเป็นต้นกล้าปกติที่สูงกว่าเมล็ดแห้ง เมื่อพิจารณาความเร็วในการงอกเมล็ดแห้งจะมีความเร็วในการงอกสูงสุดที่ระดับความเข้ม 0 ppm. ส่วนต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั น เมล็ดงอกจะมีความเร็วในการงอกที่สูงกว่าที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. และมากกว่าที่ระดับ 50 และ 100 ppm. ตามล้าดับ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนผลการทดลองของข้าวหอมนิล พบว่าเมล็ดแห้งของข้าวหอมนิลมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกจะเห็นได้ว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกเป็นต้นกล้าปกติสูงกว่าเมล็ดแห้งและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเช่นกัน ส่วนเมล็ดแห้งมีความเร็วในการงอกที่ระดับความเข้มข้นต่างกันซึ่งไม่แตกต่างกันแต่มีความเร็วสูงสุดที่ 0 ppm. เมื่อพิจารณาผลการทดลองของข้าวสุพรรณบุรี 1 เมล็ดแห้งมีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้นที่ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั นทั งสองมีเปอร์เซ็นการงอกที่ไม่แตกต่างกันแต่เมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเมล็ดแห้ง ส่วนของความเร็วในการงอกในเมล็ดแห้งมีความเร็วสูงสุดที่ 18.79 ดังนั นสามารถสรุปได้ว่าข้าวทั ง 3 พันธุ์ สามารถงอกได้ดีในระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. แต่ที่ความเข้มข้นตั งแต่ 100 การศึกษาผลของอิทธิพลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ต่อการงอกของเมล็ดข้าว 3 พันธุ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ท้า 4 ซ้า โดยเปรียบเทียบระหว่างเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก และระดับความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่แตกต่าง 5 ระดับ (0, 50, 100, 150 และ 200 ppm.) น้าเมล็ดไปวางในกล่องทดลองโดยวิธี Top of paper รดน้าเมล็ดด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ในการทดลอง จากการทดลองพบว่า ข้าวขาวดอกมะลิ 105 (เมล็ดแห้ง) มีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสูดที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. เท่ากับ 93.00 % แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับที่ระดับ 50, 100 และ 150 ppm. และเมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก พบว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์การงอกเป็นต้นกล้าปกติที่สูงกว่าเมล็ดแห้ง เมื่อพิจารณาความเร็วในการงอกเมล็ดแห้งจะมีความเร็วในการงอกสูงสุดที่ระดับความเข้ม 0 ppm. ส่วนต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั น เมล็ดงอกจะมีความเร็วในการงอกที่สูงกว่าที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. และมากกว่าที่ระดับ 50 และ 100 ppm. ตามล้าดับ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนผลการทดลองของข้าวหอมนิล พบว่าเมล็ดแห้งของข้าวหอมนิลมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกจะเห็นได้ว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกเป็นต้นกล้าปกติสูงกว่าเมล็ดแห้งและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเช่นกัน ส่วนเมล็ดแห้งมีความเร็วในการงอกที่ระดับความเข้มข้นต่างกันซึ่งไม่แตกต่างกันแต่มีความเร็วสูงสุดที่ 0 ppm. เมื่อพิจารณาผลการทดลองของข้าวสุพรรณบุรี 1 เมล็ดแห้งมีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้นที่ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั นทั งสองมีเปอร์เซ็นการงอกที่ไม่แตกต่างกันแต่เมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเมล็ดแห้ง ส่วนของความเร็วในการงอกในเมล็ดแห้งมีความเร็วสูงสุดที่ 18.79 ดังนั นสามารถสรุปได้ว่าข้าวทั ง 3 พันธุ์ สามารถงอกได้ดีในระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. แต่ที่ความเข้มข้นตั งแต่ 100 การพัฒนาระบบการผลิตผักด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีจุดประสงค์เพื่อเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิด คือ กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด เรดคอรัล กรีนคอส ฟิลเลย์ ในการปลูกแบบอินทรีย์ในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ (Smart Farm) แบ่งเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิดในระบบน้้าหยด วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ (Completely Randomized Design, CRD) 6 สิ่งทดลอง จ้านวน 10 ซ้้า พบว่าบัตเตอร์เฮด มีจ้านวนใบมากที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 และ 4 ความกว้างใบในสัปดาห์ที่ 1 บัตเตอร์เฮดมีความกว้างใบมากที่สุดไม่แตกต่างทางสถิติกับเรดโอ๊ค สัปดาห์ที่ 4 กรีนโอ๊คมีความกว้างใบมากที่สุด ความยาวใบที่สูงที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 คือบัตเตอร์เฮด ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรีนคอส เรดโอ๊ค และกรีนโอ๊ค และในสัปดาห์ที่ 4 คือ กรีนโอ๊ค กรีนคอสมีความสูงต้นมากที่สุด และกรีนโอ๊คมีขนาดพุ่มใหญ่ที่สุด ในการทดลองที่ 2 ทดลองโดยใช้น้้าหมักชีวภาพจากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ มี 36 ชุด จ้านวน 5 ซ้้า 6 สิ่งทดลอง ดังนี้ น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง น้้าหมักชีวภาพถั่วเหลือง น้้าหมักชีวภาพข้าวโพด น้้าหมักชีวภาพร้าละเอียด น้้าหมักชีวภาพเศษเลือด และน้้าหมักชีวภาพเศษปลา ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ พบว่าการใช้น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตที่สูงที่สุด รองลงมาคือ น้้าหมักชีวภาพ ถั่วเหลือง การทดลองนี้มีจุดประสงค์เพื่อเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิด คือ กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด เรดคอรัล กรีนคอส ฟิลเลย์ ในการปลูกแบบอินทรีย์ในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ (Smart Farm) แบ่งเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิดในระบบน้้าหยด วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ (Completely Randomized Design, CRD) 6 สิ่งทดลอง จ้านวน 10 ซ้้า พบว่าบัตเตอร์เฮด มีจ้านวนใบมากที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 และ 4 ความกว้างใบในสัปดาห์ที่ 1 บัตเตอร์เฮดมีความกว้างใบมากที่สุดไม่แตกต่างทางสถิติกับเรดโอ๊ค สัปดาห์ที่ 4 กรีนโอ๊คมีความกว้างใบมากที่สุด ความยาวใบที่สูงที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 คือบัตเตอร์เฮด ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรีนคอส เรดโอ๊ค และกรีนโอ๊ค และในสัปดาห์ที่ 4 คือ กรีนโอ๊ค กรีนคอสมีความสูงต้นมากที่สุด และกรีนโอ๊คมีขนาดพุ่มใหญ่ที่สุด ในการทดลองที่ 2 ทดลองโดยใช้น้้าหมักชีวภาพจากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ มี 36 ชุด จ้านวน 5 ซ้้า 6 สิ่งทดลอง ดังนี้ น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง น้้าหมักชีวภาพถั่วเหลือง น้้าหมักชีวภาพข้าวโพด น้้าหมักชีวภาพร้าละเอียด น้้าหมักชีวภาพเศษเลือด และน้้าหมักชีวภาพเศษปลา ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ พบว่าการใช้น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตที่สูงที่สุด รองลงมาคือ น้้าหมักชีวภาพ ถั่วเหลือง ผลของน้ำมะพร้าวต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของน้ำมะพร้าวเพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติมน้ำมะพร้าวระดับความเข้มข้น 0, 50, 100, 150 และ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมน้ำมะพร้าว 200 มิลลิลิตรต่อลิตร มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวราก ของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด การศึกษาผลของน้ำมะพร้าวเพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติมน้ำมะพร้าวระดับความเข้มข้น 0, 50, 100, 150 และ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมน้ำมะพร้าว 200 มิลลิลิตรต่อลิตร มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวราก ของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียว (ZEA MAYS L. VAR. CERATINA) 5 พันธุ์ ในดินอำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียว 5 พันธุ์ ที่เหมาะสมในดิน ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจำนวน 5 พันธุ์ คือ Sweet Violet Sweet wax254 Chai Nat2 Violet White926 และChai Nat84-1 ระหว่างเดือน มิถุนายนถึงกันยายน พ.ศ.2563 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชลพบุรี วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 3 ซ้ำ ผลการทดลองพบว่า ข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ Chai Nat2 ให้จำนวนฝักที่เก็บเกี่ยวได้ทั้งหมด น้ำหนักฝักทั้งเปลือก น้ำหนักฝักที่ปอกเปลือก น้ำหนักฝักทั้งเปลือกของฝักที่ดีที่สุด 5 ฝัก และความยาวของฝักดีที่สุด และมีศักยภาพในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรีได้ดี เหมาะที่จะแนะนำส่งเสริมให้แก่เกษตรกรใช้เป็นพันธุ์ปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจากงานวิจัยนี้แนะนำให้ควรทำการทดลองซ้ำเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยำ และน่าเชื่อถือก่อนจะนำไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียว 5 พันธุ์ ที่เหมาะสมในดิน ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจำนวน 5 พันธุ์ คือ Sweet Violet Sweet wax254 Chai Nat2 Violet White926 และChai Nat84-1 ระหว่างเดือน มิถุนายนถึงกันยายน พ.ศ.2563 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชลพบุรี วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 3 ซ้ำ ผลการทดลองพบว่า ข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ Chai Nat2 ให้จำนวนฝักที่เก็บเกี่ยวได้ทั้งหมด น้ำหนักฝักทั้งเปลือก น้ำหนักฝักที่ปอกเปลือก น้ำหนักฝักทั้งเปลือกของฝักที่ดีที่สุด 5 ฝัก และความยาวของฝักดีที่สุด และมีศักยภาพในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรีได้ดี เหมาะที่จะแนะนำส่งเสริมให้แก่เกษตรกรใช้เป็นพันธุ์ปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจากงานวิจัยนี้แนะนำให้ควรทำการทดลองซ้ำเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยำ และน่าเชื่อถือก่อนจะนำไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ ฟอลรอลสไปเรส ไวท์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ การเจริญเติบโต ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ และศึกษาผลของรังแกมมาที่มีต่อการงอกของเมล็ดโหระพาประดับ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design(CRD) แบ่งออกเป็น 3 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 4 ซ้้า (ซ้้าละ 25 ต้น) กรรมวิธีที่ 1 เมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา กรรมวิธีที่ 2 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 500 เกรย์ กรรมวิธีที่ 3 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 600 เกรย์ หลังจากการฉายรังสีแกมมา พบว่าหลังจากการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ และ 3 สัปดาห์ การรอดของเมล็ดลดลงอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมา หลังการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่21.25±1.93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่17.50 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 16.25±0.8 เปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตที่2 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิต เมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่19.50±1.93 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่ 13.25±1.25 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 13.75±0.47 93 เปอร์เซ็นต์ และที่ 3สัปดาห์ หลังการเพาะเมล็ด พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่ 17.00±2.16 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์อยู่ที่ 12.00±1.08 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 12.25±0.85 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมามีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตซึ่งปริมาณรังสีที่สูงเกินไปส่งผลให้โหระพาประดับมีการอัตรารอดชีวิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา(Control) และเก็บข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาของต้นโหระพาประดับที่รอดชีวิต การเจริญเติบโตของต้นโหระพาประดับระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ (120 วันหลังการย้ายปลูก) เปรียบเทียบกับโหระพาพันธุ์ไทย โดยการสุ่มวัดความสูง ความยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวน 10 ต้น ในสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่8 ซึ่งข้อมูล ทั้งหมดจะน้าไปใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงพันธุ์โหระพาต่อไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ การเจริญเติบโต ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ และศึกษาผลของรังแกมมาที่มีต่อการงอกของเมล็ดโหระพาประดับ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design(CRD) แบ่งออกเป็น 3 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 4 ซ้้า (ซ้้าละ 25 ต้น) กรรมวิธีที่ 1 เมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา กรรมวิธีที่ 2 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 500 เกรย์ กรรมวิธีที่ 3 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 600 เกรย์ หลังจากการฉายรังสีแกมมา พบว่าหลังจากการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ และ 3 สัปดาห์ การรอดของเมล็ดลดลงอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมา หลังการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่21.25±1.93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่17.50 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 16.25±0.8 เปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตที่2 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิต เมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่19.50±1.93 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่ 13.25±1.25 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 13.75±0.47 93 เปอร์เซ็นต์ และที่ 3สัปดาห์ หลังการเพาะเมล็ด พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่ 17.00±2.16 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์อยู่ที่ 12.00±1.08 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 12.25±0.85 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมามีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตซึ่งปริมาณรังสีที่สูงเกินไปส่งผลให้โหระพาประดับมีการอัตรารอดชีวิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา(Control) และเก็บข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาของต้นโหระพาประดับที่รอดชีวิต การเจริญเติบโตของต้นโหระพาประดับระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ (120 วันหลังการย้ายปลูก) เปรียบเทียบกับโหระพาพันธุ์ไทย โดยการสุ่มวัดความสูง ความยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวน 10 ต้น ในสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่8 ซึ่งข้อมูล ทั้งหมดจะน้าไปใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงพันธุ์โหระพาต่อไป ผลของความร้อนต่อการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี2 | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลของอุณหภูมิและเวลาในการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 2) เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของต้นกล้าหลังการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 3) เพื่อวิเคราะห์วิธีการที่เหมาะสมในการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ด้วยความร้อน โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 4 ซ้า 6 กรรมวิธีคือ 1) การให้ความร้อนแก่เมล็ดโดยการตากแดดจัด 3-4 แดด (29 – 37 องศาเซลเซียส) 2) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 3) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง 4) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 5) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง และ 6) เมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว พบว่า การทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ที่ทดสอบในห้องปฏิบัติการและในโรงเรือนด้วยการอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง และ 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอก ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยการทดสอบในห้องปฏิบัติการอบที่เวลา 48 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอกมากกว่าการอบที่ 72 ชั่วโมง คือ เปอร์เซ็นต์ความงอก 67.00 และ 65.00 เปอร์เซ็นต์ และดัชนีการงอก 2.79 และ 2.71 ตามลาดับ สาหรับการทดสอบในโรงเรือน การอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส 48 ชั่วโมง ทาให้เมล็ดงอกน้อยกว่า แต่งอกได้เร็วกว่า (เปอร์เซ็นต์การงอก 99 % และ ดัชนีการงอก 1.76) เมื่อเปรียบเทียบกับการอบที่อุณหภูมิเดียวกัน แต่ใช้เวลา 72 ชั่วโมง (เปอร์เซ็นต์ความงอก 100% และดัชนีการงอก 1.70) สาหรับเมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว ทดสอบในห้องปฏิบัติการมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 48.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 2.00 และทดสอบในโรงเรือนทดลองมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 63.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 1.12 ตามลาดับ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลของอุณหภูมิและเวลาในการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 2) เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของต้นกล้าหลังการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 3) เพื่อวิเคราะห์วิธีการที่เหมาะสมในการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ด้วยความร้อน โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 4 ซ้า 6 กรรมวิธีคือ 1) การให้ความร้อนแก่เมล็ดโดยการตากแดดจัด 3-4 แดด (29 – 37 องศาเซลเซียส) 2) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 3) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง 4) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 5) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง และ 6) เมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว พบว่า การทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ที่ทดสอบในห้องปฏิบัติการและในโรงเรือนด้วยการอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง และ 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอก ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยการทดสอบในห้องปฏิบัติการอบที่เวลา 48 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอกมากกว่าการอบที่ 72 ชั่วโมง คือ เปอร์เซ็นต์ความงอก 67.00 และ 65.00 เปอร์เซ็นต์ และดัชนีการงอก 2.79 และ 2.71 ตามลาดับ สาหรับการทดสอบในโรงเรือน การอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส 48 ชั่วโมง ทาให้เมล็ดงอกน้อยกว่า แต่งอกได้เร็วกว่า (เปอร์เซ็นต์การงอก 99 % และ ดัชนีการงอก 1.76) เมื่อเปรียบเทียบกับการอบที่อุณหภูมิเดียวกัน แต่ใช้เวลา 72 ชั่วโมง (เปอร์เซ็นต์ความงอก 100% และดัชนีการงอก 1.70) สาหรับเมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว ทดสอบในห้องปฏิบัติการมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 48.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 2.00 และทดสอบในโรงเรือนทดลองมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 63.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 1.12 ตามลาดับ การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม โดยใช้พิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ที่ได้จากการขยายพันธุ์โดยการปักชา ได้ทาการทดลอง ณ โรงเรือนไม้ดอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2562 การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทาการปักชาพิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 6 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 18 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED6A3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED61B พบว่าหลังจากการปักชา 14 วัน ของพิทูเนียลูกผสมทั้ง 5 เบอร์ พบว่าในการปักชามีเปอร์เซ็นต์การรอดของการปักชาที่ดีที่สุดค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ จานวนดอกในระยะออกดอกเต็มที่ ระยะ 45-50 วัน โดยนับดอกทั้งหมดของการปักชาพิทูเนียลูกผสม พิทูเนียพันธุ์ Petunia hybriba Vilm จานวน 5 เบอร์ พบว่าในพิทูเนียเบอร์18 มีการปักชามีการติดดอกเยอะที่สุด 17 ดอก ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกจานวน 3 ดอก ต่อ 1 ต้น ในระยะที่ดอกบานเต็มที่ (45-50 วัน) โดยพบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดอกเฉลี่ยดอกบานมากที่สุดอยู่ที่ช่วง 5.87 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบจานวน 3 ใบ ต่อ 1 ต้น ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใบมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 2.58 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มทั้ง 5 พันธุ์ ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มมีขนาดเฉี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 14.50 เซนติเมตร มีแนวโน้มในการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อผลผลิตเป็นไม้ดอกกระถางได้ และสามารถนาไปพัฒนาต่อได้ การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม โดยใช้พิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ที่ได้จากการขยายพันธุ์โดยการปักชา ได้ทาการทดลอง ณ โรงเรือนไม้ดอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2562 การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทาการปักชาพิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 6 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 18 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED6A3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED61B พบว่าหลังจากการปักชา 14 วัน ของพิทูเนียลูกผสมทั้ง 5 เบอร์ พบว่าในการปักชามีเปอร์เซ็นต์การรอดของการปักชาที่ดีที่สุดค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ จานวนดอกในระยะออกดอกเต็มที่ ระยะ 45-50 วัน โดยนับดอกทั้งหมดของการปักชาพิทูเนียลูกผสม พิทูเนียพันธุ์ Petunia hybriba Vilm จานวน 5 เบอร์ พบว่าในพิทูเนียเบอร์18 มีการปักชามีการติดดอกเยอะที่สุด 17 ดอก ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกจานวน 3 ดอก ต่อ 1 ต้น ในระยะที่ดอกบานเต็มที่ (45-50 วัน) โดยพบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดอกเฉลี่ยดอกบานมากที่สุดอยู่ที่ช่วง 5.87 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบจานวน 3 ใบ ต่อ 1 ต้น ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใบมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 2.58 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มทั้ง 5 พันธุ์ ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มมีขนาดเฉี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 14.50 เซนติเมตร มีแนวโน้มในการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อผลผลิตเป็นไม้ดอกกระถางได้ และสามารถนาไปพัฒนาต่อได้ อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หม่อนเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สร้างประโยชน์ได้หลายหลาย เช่น ชาใบหม่อน หม่อนทานผล แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แต่การขยายพันธุ์ส่วนใหญ่มักใช้ท่อนพันธุ์ในการขยายพันธุ์ แต่หม่อนหลายชนิดขยายพันธุ์ด้วยการปักช้าจะเจริญเติบโตช้า ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการติดตา แต่ต้องมีความช้านาญ แต่อีกวิธีที่จะขยายพันธุ์หม่อนได้รสดเร็ว คือ การเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ ซื่งในการทดลองครั งนี ได้ท้าการศึกษาอิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งออกเป็น 2 การทดลองคือ การศึกษาผลของ BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.50-2.50 มิลลิกรัมต่อลิตร NAA 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตร และผงถ่าน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ต่อการเจริญเติบโตของเวียดนาม GQ2 และผลของน้าตาลกลูโคส ซูโครส และฟรักโทสต่อการเจริญเติบโตของหม่อน พบว่าสูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดและจ้านวนรากมากที่สุด และน้าตาลซูโครสเหมาะสมที่สุดที่น้ามาเพาะเลี ยงหม่อนเวียดนาม GQ2 หม่อนเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สร้างประโยชน์ได้หลายหลาย เช่น ชาใบหม่อน หม่อนทานผล แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แต่การขยายพันธุ์ส่วนใหญ่มักใช้ท่อนพันธุ์ในการขยายพันธุ์ แต่หม่อนหลายชนิดขยายพันธุ์ด้วยการปักช้าจะเจริญเติบโตช้า ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการติดตา แต่ต้องมีความช้านาญ แต่อีกวิธีที่จะขยายพันธุ์หม่อนได้รสดเร็ว คือ การเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ ซื่งในการทดลองครั งนี ได้ท้าการศึกษาอิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งออกเป็น 2 การทดลองคือ การศึกษาผลของ BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.50-2.50 มิลลิกรัมต่อลิตร NAA 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตร และผงถ่าน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ต่อการเจริญเติบโตของเวียดนาม GQ2 และผลของน้าตาลกลูโคส ซูโครส และฟรักโทสต่อการเจริญเติบโตของหม่อน พบว่าสูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดและจ้านวนรากมากที่สุด และน้าตาลซูโครสเหมาะสมที่สุดที่น้ามาเพาะเลี ยงหม่อนเวียดนาม GQ2 การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดที่ขยายพันธุ์โดยการเสียบยอดแบบเสียบลิ่มและแบบฝานบวบ (สหกิจศึกษา) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดที่ขยายพันธุ์โดยการเสียบยอดแบบเสียบลิ่มและแบบฝานบวบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบอัตราการรอดชีวิตต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีฝานบวบ 2) เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีการฝานบวบ โดยทาการทดลองที่โรงเรือนอะโวคาโด ศูนย์วิจัยเกษตรที่สูงเพชรบูรณ์ อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดที่ขยายพันธุ์โดยการเสียบยอดแบบเสียบลิ่มและแบบฝานบวบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบอัตราการรอดชีวิตต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีฝานบวบ 2) เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีการฝานบวบ โดยทาการทดลองที่โรงเรือนอะโวคาโด ศูนย์วิจัยเกษตรที่สูงเพชรบูรณ์ อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ การคัดเลือกพันธุ์ผักบุ้งฝรั่งลูกผสมด้วยการผสมตัวเอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช เพื่อศึกษาลักษณะของพันธ์ลูกผสมมอร์นิ่งกลอรี่โดยวิธีการผสมตัวเองและคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสม ในการนามาเป็นไม้ดอกกระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองพันธุ์มอร์นิ่งกลอรี่ (Ipomoea purpurea L.) จานวน 12 พันธุ์ ทาการปลูกมอร์นิ่งกลอรี่พันธุ์ลูกผสมจากการผสมตัวเอง โดยเพาะเมล็ดในถาดหลุมจานวนพันธุ์ละ 10 ต้น จานวน 3 ซา จากการทดลองพบว่ามีบางพันธุ์ที่เปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์แท้ ลักษณะดอกเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์เดิม โดยมีสีดอกที่เปลี่ยนไปจากสีฟ้าเป็นสีชมพู ทรงต้นและใบไม่เปลี่ยนไปจากเดิม และบางพันธุ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางลักษณะของพันธุ์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีดอกจะเหมือนเดิม ลักษณะต้นและใบไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีบางพันธุ์ที่ผสมแล้วไม่ติดเมล็ด โดยมีการบันทึกลักษณะดังต่อไปนี การผสมดอก สีของกลีบดอก วัดความสูงต้น วัดขนาดดอก และอัตราการเจริญเติบโต เพื่อศึกษาลักษณะของพันธ์ลูกผสมมอร์นิ่งกลอรี่โดยวิธีการผสมตัวเองและคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสม ในการนามาเป็นไม้ดอกกระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองพันธุ์มอร์นิ่งกลอรี่ (Ipomoea purpurea L.) จานวน 12 พันธุ์ ทาการปลูกมอร์นิ่งกลอรี่พันธุ์ลูกผสมจากการผสมตัวเอง โดยเพาะเมล็ดในถาดหลุมจานวนพันธุ์ละ 10 ต้น จานวน 3 ซา จากการทดลองพบว่ามีบางพันธุ์ที่เปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์แท้ ลักษณะดอกเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์เดิม โดยมีสีดอกที่เปลี่ยนไปจากสีฟ้าเป็นสีชมพู ทรงต้นและใบไม่เปลี่ยนไปจากเดิม และบางพันธุ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางลักษณะของพันธุ์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีดอกจะเหมือนเดิม ลักษณะต้นและใบไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีบางพันธุ์ที่ผสมแล้วไม่ติดเมล็ด โดยมีการบันทึกลักษณะดังต่อไปนี การผสมดอก สีของกลีบดอก วัดความสูงต้น วัดขนาดดอก และอัตราการเจริญเติบโต สภาวะที่เหมาะสมในการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบพืช | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานทดลองครั งนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบชนิดของใบพืช ปริมาณ และระยะเวลาบ่มที่สามารถเร่งการสุกของกล้วยน้าว้าเขียวได้ดีที่สุด โดยท้าการทดลองต่อเนื่อง 3 การทดลองได้แก่ การทดลองที่ 1 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองคือ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็กและใบกระถินอย่างละ 500 กรัม การทดลองที่ 2 ประกอบด้วย 4 ชุดทดลองได้แก่ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 800 และ 1000 กรัม และการทดลองที่ 3 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองได้แก่ บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัมเป็นเวลา 3 วัน 4 วัน และ 5 วัน พบว่า 1) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 3 วันท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าการใช้ใบกระถิน โดยมีความหวานมากที่สุดคือ 25.00 Brix 2) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม ท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าใบขี เหล็กปริมาณ 800 และ 1000 กรัม โดยผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.73 a* เท่ากับ -8.25 b* เท่ากับ +22.25 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวาน 22.44 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.70 (N/cm2) 3) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 5 วัน ผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.13 a* เท่ากับ -8.10 b เท่ากับ +23.20 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวานมากที่สุด คือ 23.66 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.66 (N/cm2) แต่ผู้บริโภคประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสให้คะแนนการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 4 วันมากกว่าชุดการทดลองอื่นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ งานทดลองครั งนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบชนิดของใบพืช ปริมาณ และระยะเวลาบ่มที่สามารถเร่งการสุกของกล้วยน้าว้าเขียวได้ดีที่สุด โดยท้าการทดลองต่อเนื่อง 3 การทดลองได้แก่ การทดลองที่ 1 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองคือ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็กและใบกระถินอย่างละ 500 กรัม การทดลองที่ 2 ประกอบด้วย 4 ชุดทดลองได้แก่ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 800 และ 1000 กรัม และการทดลองที่ 3 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองได้แก่ บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัมเป็นเวลา 3 วัน 4 วัน และ 5 วัน พบว่า 1) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 3 วันท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าการใช้ใบกระถิน โดยมีความหวานมากที่สุดคือ 25.00 Brix 2) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม ท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าใบขี เหล็กปริมาณ 800 และ 1000 กรัม โดยผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.73 a* เท่ากับ -8.25 b* เท่ากับ +22.25 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวาน 22.44 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.70 (N/cm2) 3) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 5 วัน ผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.13 a* เท่ากับ -8.10 b เท่ากับ +23.20 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวานมากที่สุด คือ 23.66 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.66 (N/cm2) แต่ผู้บริโภคประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสให้คะแนนการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 4 วันมากกว่าชุดการทดลองอื่นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม 5 พันธุ์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากการศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอก และศึกษาลักษณะของพันธุ์พิทูเนียลูกผสมโดย วิธีการปักชำ และคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสมในการนำมาเป็นไม้ดอกไม้กระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมี การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองปักชำพิทูเนียลูกผสม จำนวน 5 เบอร์ จำนวนเบอร์ละ 12 ต้น จากการทดลองพบว่า ในการปักชำมีเปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตของการปักชำที่ดีที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 61A และ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 ค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 เท่ากับ 17 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ การติดดอกมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 มีการติดดอก 14 ดอก และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสมเบอร์ 66B2 มีการติดดอก 1 ดอก ทรงพุ่มมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 อยู่ที่ 33.10 เซนติเมตร และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 อยู่ที่ 15.80 เซนติเมตร มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พันธุ์ที่เหมาะสมแก่การนำมาเป็นไม้กระถางมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 เพราะมีอัตราการรอดชีวิตของกิ่งชำสูงที่สุด คือ 33 เปอร์เซ็นต์ และพบว่ามีการให้ดอกสูงที่สุดถึง 14 ดอกต่อต้นและดอกมีขนาดใหญ่สวยงาม ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ย 3.90 เซนติเมตร จากการศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอก และศึกษาลักษณะของพันธุ์พิทูเนียลูกผสมโดย วิธีการปักชำ และคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสมในการนำมาเป็นไม้ดอกไม้กระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมี การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองปักชำพิทูเนียลูกผสม จำนวน 5 เบอร์ จำนวนเบอร์ละ 12 ต้น จากการทดลองพบว่า ในการปักชำมีเปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตของการปักชำที่ดีที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 61A และ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 ค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 เท่ากับ 17 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ การติดดอกมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 มีการติดดอก 14 ดอก และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสมเบอร์ 66B2 มีการติดดอก 1 ดอก ทรงพุ่มมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 อยู่ที่ 33.10 เซนติเมตร และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 อยู่ที่ 15.80 เซนติเมตร มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พันธุ์ที่เหมาะสมแก่การนำมาเป็นไม้กระถางมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 เพราะมีอัตราการรอดชีวิตของกิ่งชำสูงที่สุด คือ 33 เปอร์เซ็นต์ และพบว่ามีการให้ดอกสูงที่สุดถึง 14 ดอกต่อต้นและดอกมีขนาดใหญ่สวยงาม ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ย 3.90 เซนติเมตร ผลของ PBZ และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ PBZ และ IAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านความสูงดีที่สุด และอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม PBZ ความเข้มข้น 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมทางด้านจานวนใบ จานวนกอ และจานวนยอดดีที่สุด สาหรับผลของการชักนาให้เกิดรากโดยย้ายเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนราก ความยาวรากดีที่สุด การศึกษาผลของ PBZ และ IAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านความสูงดีที่สุด และอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม PBZ ความเข้มข้น 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมทางด้านจานวนใบ จานวนกอ และจานวนยอดดีที่สุด สาหรับผลของการชักนาให้เกิดรากโดยย้ายเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนราก ความยาวรากดีที่สุด ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อการงอกของเมล็ด ของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ปัจจุบันมีการนาเทคนิคการฉายรังสีแกมมาใช้ประโยชน์ในการสร้างความแปรปรวนของฐานพันธุกรรมของพืชให้มีความหลากหลายมากขึ้น จึงนามาทาการศึกษาต่อความงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 0 , 500 และ 600 เกรย์ พบว่าปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทาให้พืชมีเปอร์เซ็นต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4 เมล็ดที่ได้รับการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 500 และ 600 เกรย์ ส่งผลทาให้พืชชะงักการเจิญเติบโตและตายในที่สุด จึงทาการเปรียบเทียบ ระหว่างโหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส กับต้นที่ไม่ได้รับการฉายรังสี (Control) และโหระพาพันธุ์ไทย โดยเปรียบเทียบ ความสูงต้น ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนี้ โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 7.44±0.23 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 11.97±0.39 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 4.80±0.19 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.98±0.14 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.79±0.07 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 2.23±0.11 เซนติเมตร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ปัจจุบันมีการนาเทคนิคการฉายรังสีแกมมาใช้ประโยชน์ในการสร้างความแปรปรวนของฐานพันธุกรรมของพืชให้มีความหลากหลายมากขึ้น จึงนามาทาการศึกษาต่อความงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 0 , 500 และ 600 เกรย์ พบว่าปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทาให้พืชมีเปอร์เซ็นต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4 เมล็ดที่ได้รับการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 500 และ 600 เกรย์ ส่งผลทาให้พืชชะงักการเจิญเติบโตและตายในที่สุด จึงทาการเปรียบเทียบ ระหว่างโหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส กับต้นที่ไม่ได้รับการฉายรังสี (Control) และโหระพาพันธุ์ไทย โดยเปรียบเทียบ ความสูงต้น ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนี้ โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 7.44±0.23 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 11.97±0.39 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 4.80±0.19 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.98±0.14 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.79±0.07 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 2.23±0.11 เซนติเมตร ผลของรังสีแกมมาต่อความงอกเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และการเจริญเติบโตของโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่อเมล็ดโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ ต่อการงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ พบว่า ปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทำให้พืชมีเปอร์เซนต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่4 เมล็ดที่ได้รับรังสีแกมมาที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด จึงทำการเปรียบเทียบความสูงต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความสูงเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 9.27±0.75เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความสูงเฉลี่ยมากสุดอยู่ที่ 10.12±0.34 เซนติเมตร ความกว้างโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 1.82±0.08 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 2.03±0.12 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.15±0.15 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.83±0.20 เซนติมตร ตามลำดับ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่อเมล็ดโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ ต่อการงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ พบว่า ปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทำให้พืชมีเปอร์เซนต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่4 เมล็ดที่ได้รับรังสีแกมมาที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด จึงทำการเปรียบเทียบความสูงต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความสูงเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 9.27±0.75เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความสูงเฉลี่ยมากสุดอยู่ที่ 10.12±0.34 เซนติเมตร ความกว้างโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 1.82±0.08 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 2.03±0.12 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.15±0.15 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.83±0.20 เซนติมตร ตามลำดับ ผลของ TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ตอติเล ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโปรโตคอร์มกล้วยไม้ตอติเล ทางด้านความสูง จานวนใบ จานวนราก และอัตราการรอดชีวิต โดยนาโปรโตคอร์มในระยะมีใบจริง 1 คู่ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม TDZ ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS เติม TDZ ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 81.24 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.88 เซนติเมตร และ 7.25 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้จานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 1.91 รากต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 95.83 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.90 เซนติเมตร และ 7.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้มีจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 4.66 รากต่อต้น การศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโปรโตคอร์มกล้วยไม้ตอติเล ทางด้านความสูง จานวนใบ จานวนราก และอัตราการรอดชีวิต โดยนาโปรโตคอร์มในระยะมีใบจริง 1 คู่ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม TDZ ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS เติม TDZ ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 81.24 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.88 เซนติเมตร และ 7.25 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้จานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 1.91 รากต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 95.83 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.90 เซนติเมตร และ 7.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้มีจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 4.66 รากต่อต้น ผลของ TDZ, KN และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้แปรงสีฟัน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสูตรอาหารสังเคราะห์ความเข้มข้น TDZ, KN และ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสูตรอาหารสังเคราะห์ความเข้มข้น TDZ, KN และ ผลของ PBZ ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ PBZ เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวรากของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด การศึกษาผลของ PBZ เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวรากของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด การปรับปรุงพันธุ์มอร์นิ่งกลอรี่ลูกผสมเพื่อเป็นไม้ดอกกระถาง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของมอร์นิ่งกลอรี่ลูกผสม สาหรับเป็นไม้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของมอร์นิ่งกลอรี่ลูกผสม สาหรับเป็นไม้ การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์จากใบพืชที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อก่อโรคเหี่ยวของพริก | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดแยกเชื้อราจากใบพืชผักสมุนไพรชนิดต่างๆ และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราจากผิวพืชที่แยกได้ในการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อราก่อโรคในพริก โดยทาการแยกเชื้อราจากใบพืช 10 ชนิด ได้เชื้อราทั้งหมด 16 ไอโซเลทจากพืช 6 ชนิดได้แก่ กะเพรา สะระแหน่ มะละกอ ตะไคร้ มิ้นท์ และแมงลัก เมื่อนามาทดสอบการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อ Fusarium sp. ที่ก่อโรคเหี่ยวในพริก พบว่าเชื้อรารหัส SB5 สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคได้มากที่สุด คือ 83.0% รองลงมาคือเชื้อรารหัส B1 ยับยั้งเชื้อโรคได้ 75.60% ซึ่งเชื้อราทั้ง 2 ไอโซเลทนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเชื้อราอื่นที่เหลืออย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดแยกเชื้อราจากใบพืชผักสมุนไพรชนิดต่างๆ และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราจากผิวพืชที่แยกได้ในการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อราก่อโรคในพริก โดยทาการแยกเชื้อราจากใบพืช 10 ชนิด ได้เชื้อราทั้งหมด 16 ไอโซเลทจากพืช 6 ชนิดได้แก่ กะเพรา สะระแหน่ มะละกอ ตะไคร้ มิ้นท์ และแมงลัก เมื่อนามาทดสอบการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อ Fusarium sp. ที่ก่อโรคเหี่ยวในพริก พบว่าเชื้อรารหัส SB5 สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคได้มากที่สุด คือ 83.0% รองลงมาคือเชื้อรารหัส B1 ยับยั้งเชื้อโรคได้ 75.60% ซึ่งเชื้อราทั้ง 2 ไอโซเลทนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเชื้อราอื่นที่เหลืออย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผลของน้ำนาโนบับเบิลต่อปริมาณสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ต้นอ่อนผักบุ้ง กำลังเป็นผักที่ได้รับความนิยมมากในกลุ่มของผู้รักสุขภาพ เนื่องจากผักบุ้งอุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารสูง ซึ่งประกอบไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญที่จำเป็นต่อร่างกาย งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาน้ำนาโนบับเบิลที่มีผลต่อสารสำคัญของต้นอ่อนผักบุ้ง โดยการวางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) จำนวน 10 ซ้ำ โดยวิเคราะห์หาปริมาณคลอโรฟิลล์ น้ำหนักสด น้ำหนักแห้งและค่าไนเตรท ทำการเพาะเมล็ดผักบุ้งจีน รดน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาที รดน้ำวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 50 มิลลิลิตร พบว่า พบว่าการให้น้ำไมโคร/นาโนบับเบิลระยะเวลา 40 นาทีมีผลต่อการงอกของเมล็ด ความยาวของราก และความสูงของต้นมากที่สุด แต่ปริมาณน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาทีไม่มีผลต่อสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง ต้นอ่อนผักบุ้ง กำลังเป็นผักที่ได้รับความนิยมมากในกลุ่มของผู้รักสุขภาพ เนื่องจากผักบุ้งอุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารสูง ซึ่งประกอบไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญที่จำเป็นต่อร่างกาย งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาน้ำนาโนบับเบิลที่มีผลต่อสารสำคัญของต้นอ่อนผักบุ้ง โดยการวางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) จำนวน 10 ซ้ำ โดยวิเคราะห์หาปริมาณคลอโรฟิลล์ น้ำหนักสด น้ำหนักแห้งและค่าไนเตรท ทำการเพาะเมล็ดผักบุ้งจีน รดน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาที รดน้ำวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 50 มิลลิลิตร พบว่า พบว่าการให้น้ำไมโคร/นาโนบับเบิลระยะเวลา 40 นาทีมีผลต่อการงอกของเมล็ด ความยาวของราก และความสูงของต้นมากที่สุด แต่ปริมาณน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาทีไม่มีผลต่อสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง ผลของ BA KN และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของว่านสี่ทิศในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ BA KN และ NAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุม การเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านสี่ทิศในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนฐานหัวมาผ่าขนาด 0.5 เซนติเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 3 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 7.85 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 2.87 ใบต่อต้น สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตรที่ไม่เติม KN ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 3.64 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 1.00 ใบต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาหัวว่านสี่ทิศขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุดเฉลี่ย 16.33 รากต่อต้นราก เมื่อเปรียบเทียบกับสูตรอาหารที่ไม่เติม NAA ให้การชักนารากน้อยที่สุดเฉลี่ย 2.93 รากต่อต้น การศึกษาผลของ BA KN และ NAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุม การเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านสี่ทิศในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนฐานหัวมาผ่าขนาด 0.5 เซนติเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 3 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 7.85 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 2.87 ใบต่อต้น สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตรที่ไม่เติม KN ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 3.64 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 1.00 ใบต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาหัวว่านสี่ทิศขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุดเฉลี่ย 16.33 รากต่อต้นราก เมื่อเปรียบเทียบกับสูตรอาหารที่ไม่เติม NAA ให้การชักนารากน้อยที่สุดเฉลี่ย 2.93 รากต่อต้น อิทธิพลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการยืดอายุการวางประดับของต้นปูเล่ประดับ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากผลการทดลองใช้สารพาโคลบิวทราโซลที่มีผลต่อการชะลอการเจริญเติบโตของต้นปูเล่ จากผลการทดลองใช้สารพาโคลบิวทราโซลที่มีผลต่อการชะลอการเจริญเติบโตของต้นปูเล่ ผลของ TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิ ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิ โดยนาชิ้นส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร วางเลี้ยงที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมให้เกิดยอดเฉลี่ย 3.33 ยอดต่อต้น ให้ใบมากที่สุด 19.33 ใบต่อต้น เมื่อย้ายเลี้ยงยอดที่มี 1 ข้อใบ ยาว 1 เซนติเมตร บนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเปอร์เซ็นต์การเกิดแคลลัสเฉลี่ย 95.83 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตทางด้านความสูง 3.57 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุด 3.16 รากต่อต้น การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิ โดยนาชิ้นส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร วางเลี้ยงที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมให้เกิดยอดเฉลี่ย 3.33 ยอดต่อต้น ให้ใบมากที่สุด 19.33 ใบต่อต้น เมื่อย้ายเลี้ยงยอดที่มี 1 ข้อใบ ยาว 1 เซนติเมตร บนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเปอร์เซ็นต์การเกิดแคลลัสเฉลี่ย 95.83 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตทางด้านความสูง 3.57 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุด 3.16 รากต่อต้น ศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ้า มีวิธีทาลายการพักตัว 4 วิธี ได้แก่ 1) การตัดปลายเมล็ด, 2) การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย, 3) แช่เมล็ดในน้าร้อน 1 นาที และ 4) แช่เมล็ดในกรดไนตริก 1 นาที แล้วจึงนาไปเพาะในวัสดุเพาะเมล็ด จากการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 48 และ 28 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วในการงอก พบว่า เมล็ดที่ทาลายการพักตัวด้วยการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความเร็วในการงอกเท่ากับ 1.24 และ 0.91 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสูงของต้นกล้าบวบงู พบว่า การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 20. 4 เซนติเมตร รองลงมา การตัดปลายเมล็ดมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 19.29 เซนติเมตร สาหรับอีก 2 วิธี เมล็ดบวบงูไม่สามารถงอกได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับศูนย์ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ้า มีวิธีทาลายการพักตัว 4 วิธี ได้แก่ 1) การตัดปลายเมล็ด, 2) การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย, 3) แช่เมล็ดในน้าร้อน 1 นาที และ 4) แช่เมล็ดในกรดไนตริก 1 นาที แล้วจึงนาไปเพาะในวัสดุเพาะเมล็ด จากการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 48 และ 28 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วในการงอก พบว่า เมล็ดที่ทาลายการพักตัวด้วยการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความเร็วในการงอกเท่ากับ 1.24 และ 0.91 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสูงของต้นกล้าบวบงู พบว่า การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 20. 4 เซนติเมตร รองลงมา การตัดปลายเมล็ดมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 19.29 เซนติเมตร สาหรับอีก 2 วิธี เมล็ดบวบงูไม่สามารถงอกได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับศูนย์ ผลของ BA และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้าทองในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนใบ จ้านวนข้อ ความยาวต้น และจ้านวนรากของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร ข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตร ให้อัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม BA เข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบ และข้อมากที่สุด 3.33 ใบต่อต้น และ 3.91 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนรากจ้านวนใบ ความยาวข้อความยาวยอด และจ้านวนข้อของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดข้อที่ 1 ขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0. 5 และ 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตรมีอัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม NAA เข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนราก และข้อมากที่สุด 3.92 รากต่อต้นราก และ 5.83 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนใบ จ้านวนข้อ ความยาวต้น และจ้านวนรากของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร ข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตร ให้อัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม BA เข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบ และข้อมากที่สุด 3.33 ใบต่อต้น และ 3.91 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนรากจ้านวนใบ ความยาวข้อความยาวยอด และจ้านวนข้อของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดข้อที่ 1 ขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0. 5 และ 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตรมีอัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม NAA เข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนราก และข้อมากที่สุด 3.92 รากต่อต้นราก และ 5.83 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ อิทธิพลของ BA ต่อการชักนาการเกิดต้นของปทุมมาจากหัวเสื่อมสภาพ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มข้นของสารละลาย BA ที่มีความเหมาะสมต่อการงอกของหัวปทุมมาเสื่อมคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ทรีตเมนท์ ทรีตเมนท์ละ 20 ซ้า ดังนี้ 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร บันทึกข้อมูลได้แก่ ผลการเจริญเติบโตของต้นปทุมมา ขนาดของหัวปทุมมาแบบไม่ถอดดอก และแบบถอดดอก จากการทดลองเมื่อนาหัวปทุมมาแช่สาร BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นปทุมมาที่ได้รับสารของ BA ความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม ดังนี้ ด้านความสูงต้นเฉลี่ย 45.70 เซนติเมตร ขนาดลาต้นเฉลี่ย 4.52 เซนติเมตร ความกว้างใบเฉลี่ย 8.84 เซนติเมตร ความยาวใบเฉลี่ย 21.60 เซนติเมตร ความสูงดอกเฉลี่ย 48.78 เซนติเมตร ความกว้างดอกเฉลี่ย 2.56 เซนติเมตร จานวนต้นต่อกอเฉลี่ย 4.80 ต้น และจากการทดลองการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาจากวิธีการถอดดอก และไม่ถอดดอกทิ้ง พบว่าการไม่ถอดดอกปทุมมาในการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาให้ผลดีในความเข้มข้น 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ขนาดหัวเฉลี่ย 19.50 มิลลิเมตร ให้จานวนหัวเฉลี่ย 1.50 หัว ให้จานวนตุ้มสะสมอาหารเฉลี่ย 3.15 ตุ้ม การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มข้นของสารละลาย BA ที่มีความเหมาะสมต่อการงอกของหัวปทุมมาเสื่อมคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ทรีตเมนท์ ทรีตเมนท์ละ 20 ซ้า ดังนี้ 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร บันทึกข้อมูลได้แก่ ผลการเจริญเติบโตของต้นปทุมมา ขนาดของหัวปทุมมาแบบไม่ถอดดอก และแบบถอดดอก จากการทดลองเมื่อนาหัวปทุมมาแช่สาร BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นปทุมมาที่ได้รับสารของ BA ความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม ดังนี้ ด้านความสูงต้นเฉลี่ย 45.70 เซนติเมตร ขนาดลาต้นเฉลี่ย 4.52 เซนติเมตร ความกว้างใบเฉลี่ย 8.84 เซนติเมตร ความยาวใบเฉลี่ย 21.60 เซนติเมตร ความสูงดอกเฉลี่ย 48.78 เซนติเมตร ความกว้างดอกเฉลี่ย 2.56 เซนติเมตร จานวนต้นต่อกอเฉลี่ย 4.80 ต้น และจากการทดลองการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาจากวิธีการถอดดอก และไม่ถอดดอกทิ้ง พบว่าการไม่ถอดดอกปทุมมาในการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาให้ผลดีในความเข้มข้น 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ขนาดหัวเฉลี่ย 19.50 มิลลิเมตร ให้จานวนหัวเฉลี่ย 1.50 หัว ให้จานวนตุ้มสะสมอาหารเฉลี่ย 3.15 ตุ้ม ผลของการไถพรวนและการใส่ปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (Zea mays L.) พันธุ์นครสวรรค์ 3 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความแตกต่างของการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงต่อระบบการปลูกโดยวิธีไถพรวน และไม่ไถพรวนดิน ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 6 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า 6 ประกอบด้วย ทรีทเมนต์ที่ 1: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 2: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 3: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 4: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 5: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไถพรวนดิน) และทรีทเมนต์ที่ 6: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไม่ไถพรวนดิน) ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมการการไถพรวนดินส่งผลให้ความสูงต้นที่อายุ 30 วัน ความสูงต้นที่อายุ 60 วัน ความสูงของฝักแรกที่อายุ 60 วัน ความสูงต้นก่อนเก็บเกี่ยว ความสูงฝักแรกก่อนเก็บเกี่ยว น้้าหนักเมล็ดที่ความชื้น15% น้้าหนักปอกเปลือก น้้าหนักทั้งเปลือก น้้าหนักเมล็ด น้้าหนักซัง วันออกดอกตัวผู้ 50% วันออกไหมตัวเมีย 50% และจ้านวนฝักทั้งหมด ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทรีทเมนต์อื่น การใช่ปุ๋ยเคมีตามวิเคราะห์ดินจะช่วยให้เกษตรกรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้และลดค่าใช้จ่ายแก่เกษตรกรลงไปได้ จากงานวิจัยนี้แนะน้าให้ควรท้าการทดลองซ้้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นย้า และน่าเชื่อถือก่อนจะน้าไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความแตกต่างของการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงต่อระบบการปลูกโดยวิธีไถพรวน และไม่ไถพรวนดิน ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 6 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า 6 ประกอบด้วย ทรีทเมนต์ที่ 1: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 2: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 3: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 4: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 5: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไถพรวนดิน) และทรีทเมนต์ที่ 6: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไม่ไถพรวนดิน) ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมการการไถพรวนดินส่งผลให้ความสูงต้นที่อายุ 30 วัน ความสูงต้นที่อายุ 60 วัน ความสูงของฝักแรกที่อายุ 60 วัน ความสูงต้นก่อนเก็บเกี่ยว ความสูงฝักแรกก่อนเก็บเกี่ยว น้้าหนักเมล็ดที่ความชื้น15% น้้าหนักปอกเปลือก น้้าหนักทั้งเปลือก น้้าหนักเมล็ด น้้าหนักซัง วันออกดอกตัวผู้ 50% วันออกไหมตัวเมีย 50% และจ้านวนฝักทั้งหมด ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทรีทเมนต์อื่น การใช่ปุ๋ยเคมีตามวิเคราะห์ดินจะช่วยให้เกษตรกรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้และลดค่าใช้จ่ายแก่เกษตรกรลงไปได้ จากงานวิจัยนี้แนะน้าให้ควรท้าการทดลองซ้้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นย้า และน่าเชื่อถือก่อนจะน้าไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม ในถั่วเขียว (VIGNA RADIATA (L.) R. WILCZEK) พันธุ์ชัยนาท 72 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ถั่วเขียวเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตของถั่วเขียวลดลง เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ยเคมีและค่าจ้างแรงงาน การใช้ปุ๋ยไรโซเบียมจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตในการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของเกษตรกรและยังช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของถั่ว ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตและผลผลิตถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 72 โดยการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 คือ ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 2 คือ ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน และไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 3 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง กรรมวิธีที่ 4 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลว ผลการทดลองพบว่า การใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวทาให้ลักษณะ จานวนกิ่ง น้าหนักเมล็ดต่อแปลงย่อย ผลผลิตต่อแปลงย่อย น้าหนักผลผลิตต่อไร่ น้าหนัก 100 เมล็ด และน้าหนัก 1000 เมล็ด สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีอื่น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ) เนื่องจากปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเหลวแบบใหม่ ยังคงประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง และยังคงอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในส่วนของการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นถั่วเขียว ทาให้ไม่สามารถเห็นผลแตกต่างกันได้อย่างชัดเจน จากงานวิจัยนี้แนะนาให้ควรทาการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยา และน่าเชื่อถือก่อนจะนาไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป ถั่วเขียวเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตของถั่วเขียวลดลง เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ยเคมีและค่าจ้างแรงงาน การใช้ปุ๋ยไรโซเบียมจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตในการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของเกษตรกรและยังช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของถั่ว ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตและผลผลิตถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 72 โดยการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 คือ ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 2 คือ ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน และไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 3 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง กรรมวิธีที่ 4 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลว ผลการทดลองพบว่า การใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวทาให้ลักษณะ จานวนกิ่ง น้าหนักเมล็ดต่อแปลงย่อย ผลผลิตต่อแปลงย่อย น้าหนักผลผลิตต่อไร่ น้าหนัก 100 เมล็ด และน้าหนัก 1000 เมล็ด สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีอื่น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ) เนื่องจากปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเหลวแบบใหม่ ยังคงประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง และยังคงอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในส่วนของการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นถั่วเขียว ทาให้ไม่สามารถเห็นผลแตกต่างกันได้อย่างชัดเจน จากงานวิจัยนี้แนะนาให้ควรทาการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยา และน่าเชื่อถือก่อนจะนาไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป ผลของ TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้าทองในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตทางด้านล้าต้นของกล้วยไม้ ว่านลายน้าทอง โดยน้าชิ นส่วนข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม TDZ ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้ความสูงมากที่สุด 2.67 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.25 ข้อต่อต้น และสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.66 ใบต่อต้น และให้จ้านวนรากมากที่สุด 2.84 รากต่อต้น ตามล้าดับ ส้าหรับการเจริญเติบโตทางด้านราก เมื่อน้าข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุด 4.74 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.16 ข้อต่อต้น และให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.41 ใบต่อต้น และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากมากที่สุด 1.77 รากต่อต้น ตามล้าดับ การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตทางด้านล้าต้นของกล้วยไม้ ว่านลายน้าทอง โดยน้าชิ นส่วนข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม TDZ ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้ความสูงมากที่สุด 2.67 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.25 ข้อต่อต้น และสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.66 ใบต่อต้น และให้จ้านวนรากมากที่สุด 2.84 รากต่อต้น ตามล้าดับ ส้าหรับการเจริญเติบโตทางด้านราก เมื่อน้าข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุด 4.74 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.16 ข้อต่อต้น และให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.41 ใบต่อต้น และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากมากที่สุด 1.77 รากต่อต้น ตามล้าดับ การคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า (สหกิจศึกษา) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของต้นและผลมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลผลิตของต้นมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 3) เพื่อคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของต้นและผลมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลผลิตของต้นมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 3) เพื่อคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า |