ศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ้า มีวิธีทาลายการพักตัว 4 วิธี ได้แก่ 1) การตัดปลายเมล็ด, 2) การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย, 3) แช่เมล็ดในน้าร้อน 1 นาที และ 4) แช่เมล็ดในกรดไนตริก 1 นาที แล้วจึงนาไปเพาะในวัสดุเพาะเมล็ด จากการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 48 และ 28 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วในการงอก พบว่า เมล็ดที่ทาลายการพักตัวด้วยการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความเร็วในการงอกเท่ากับ 1.24 และ 0.91 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสูงของต้นกล้าบวบงู พบว่า การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 20. 4 เซนติเมตร รองลงมา การตัดปลายเมล็ดมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 19.29 เซนติเมตร สาหรับอีก 2 วิธี เมล็ดบวบงูไม่สามารถงอกได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับศูนย์ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ้า มีวิธีทาลายการพักตัว 4 วิธี ได้แก่ 1) การตัดปลายเมล็ด, 2) การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย, 3) แช่เมล็ดในน้าร้อน 1 นาที และ 4) แช่เมล็ดในกรดไนตริก 1 นาที แล้วจึงนาไปเพาะในวัสดุเพาะเมล็ด จากการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 48 และ 28 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วในการงอก พบว่า เมล็ดที่ทาลายการพักตัวด้วยการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความเร็วในการงอกเท่ากับ 1.24 และ 0.91 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสูงของต้นกล้าบวบงู พบว่า การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 20. 4 เซนติเมตร รองลงมา การตัดปลายเมล็ดมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 19.29 เซนติเมตร สาหรับอีก 2 วิธี เมล็ดบวบงูไม่สามารถงอกได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับศูนย์ |