อิทธิพลของรังสีแกมมาต่อการพัฒนาพันธุ์คาลล่าลิลลี่ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คาลล่าลิลลี่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ปัจจุบันมีการนามาปลูกในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ใหม่ในพืชสามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ หรือทาให้เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีชนิดต่าง ๆ หรือสารเคมี ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงชักนาให้เกิดการกลายในต้นคาลล่าลิลลี่ ในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันโดยนาชิ้นส่วนของต้นคาลล่าลิลลี่ เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลานาน 14 วัน มาฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0 20 40 และ 60 เกรย์ ผลการศึกษาพบว่าเมื่อปริมาณรังสีแกมมาที่เพิ่มสูงขึ้นจะทาให้อัตราการรอดชีวิตของชิ้นส่วนพืชลดต่าลง คือที่ปริมาณรังสี 20 40 และ 60 เกรย์ มีอัตราการรอดชีวิต 100 80 และ 65 เปอร์เซ็น ตามลาดับ (20 16 และ 13 ต้น) ที่ปริมาณรังสี 60 เกรย์ พบลักษณะต้นอ่อนที่เกิดใหม่มีขนาดเล็ก แคระแกร็น หรือต้นมีสีน้าตาล และพบลักษณะต้นกลายทั้งหมด 6 ต้น (จากปริมาณรังสี 20 และ 40 เกรย์) คิดเป็น 15 และ 17 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งมีลักษณะใบหงิกงอ และมีแถบใบขาวตรงบริเวณขอบใบ คาลล่าลิลลี่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ปัจจุบันมีการนามาปลูกในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ใหม่ในพืชสามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ หรือทาให้เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีชนิดต่าง ๆ หรือสารเคมี ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงชักนาให้เกิดการกลายในต้นคาลล่าลิลลี่ ในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันโดยนาชิ้นส่วนของต้นคาลล่าลิลลี่ เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลานาน 14 วัน มาฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0 20 40 และ 60 เกรย์ ผลการศึกษาพบว่าเมื่อปริมาณรังสีแกมมาที่เพิ่มสูงขึ้นจะทาให้อัตราการรอดชีวิตของชิ้นส่วนพืชลดต่าลง คือที่ปริมาณรังสี 20 40 และ 60 เกรย์ มีอัตราการรอดชีวิต 100 80 และ 65 เปอร์เซ็น ตามลาดับ (20 16 และ 13 ต้น) ที่ปริมาณรังสี 60 เกรย์ พบลักษณะต้นอ่อนที่เกิดใหม่มีขนาดเล็ก แคระแกร็น หรือต้นมีสีน้าตาล และพบลักษณะต้นกลายทั้งหมด 6 ต้น (จากปริมาณรังสี 20 และ 40 เกรย์) คิดเป็น 15 และ 17 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งมีลักษณะใบหงิกงอ และมีแถบใบขาวตรงบริเวณขอบใบ |