ผลของการไถพรวนและการใส่ปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (Zea mays L.) พันธุ์นครสวรรค์ 3 อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความแตกต่างของการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงต่อระบบการปลูกโดยวิธีไถพรวน และไม่ไถพรวนดิน ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 6 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า 6 ประกอบด้วย ทรีทเมนต์ที่ 1: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 2: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 3: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 4: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 5: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไถพรวนดิน) และทรีทเมนต์ที่ 6: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไม่ไถพรวนดิน) ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมการการไถพรวนดินส่งผลให้ความสูงต้นที่อายุ 30 วัน ความสูงต้นที่อายุ 60 วัน ความสูงของฝักแรกที่อายุ 60 วัน ความสูงต้นก่อนเก็บเกี่ยว ความสูงฝักแรกก่อนเก็บเกี่ยว น้้าหนักเมล็ดที่ความชื้น15% น้้าหนักปอกเปลือก น้้าหนักทั้งเปลือก น้้าหนักเมล็ด น้้าหนักซัง วันออกดอกตัวผู้ 50% วันออกไหมตัวเมีย 50% และจ้านวนฝักทั้งหมด ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทรีทเมนต์อื่น การใช่ปุ๋ยเคมีตามวิเคราะห์ดินจะช่วยให้เกษตรกรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้และลดค่าใช้จ่ายแก่เกษตรกรลงไปได้ จากงานวิจัยนี้แนะน้าให้ควรท้าการทดลองซ้้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นย้า และน่าเชื่อถือก่อนจะน้าไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความแตกต่างของการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงต่อระบบการปลูกโดยวิธีไถพรวน และไม่ไถพรวนดิน ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 6 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า 6 ประกอบด้วย ทรีทเมนต์ที่ 1: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 2: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 3: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 4: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 5: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไถพรวนดิน) และทรีทเมนต์ที่ 6: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไม่ไถพรวนดิน) ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมการการไถพรวนดินส่งผลให้ความสูงต้นที่อายุ 30 วัน ความสูงต้นที่อายุ 60 วัน ความสูงของฝักแรกที่อายุ 60 วัน ความสูงต้นก่อนเก็บเกี่ยว ความสูงฝักแรกก่อนเก็บเกี่ยว น้้าหนักเมล็ดที่ความชื้น15% น้้าหนักปอกเปลือก น้้าหนักทั้งเปลือก น้้าหนักเมล็ด น้้าหนักซัง วันออกดอกตัวผู้ 50% วันออกไหมตัวเมีย 50% และจ้านวนฝักทั้งหมด ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทรีทเมนต์อื่น การใช่ปุ๋ยเคมีตามวิเคราะห์ดินจะช่วยให้เกษตรกรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้และลดค่าใช้จ่ายแก่เกษตรกรลงไปได้ จากงานวิจัยนี้แนะน้าให้ควรท้าการทดลองซ้้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นย้า และน่าเชื่อถือก่อนจะน้าไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป |