ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อการงอกของเมล็ด ของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ปัจจุบันมีการนาเทคนิคการฉายรังสีแกมมาใช้ประโยชน์ในการสร้างความแปรปรวนของฐานพันธุกรรมของพืชให้มีความหลากหลายมากขึ้น จึงนามาทาการศึกษาต่อความงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 0 , 500 และ 600 เกรย์ พบว่าปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทาให้พืชมีเปอร์เซ็นต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4 เมล็ดที่ได้รับการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 500 และ 600 เกรย์ ส่งผลทาให้พืชชะงักการเจิญเติบโตและตายในที่สุด จึงทาการเปรียบเทียบ ระหว่างโหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส กับต้นที่ไม่ได้รับการฉายรังสี (Control) และโหระพาพันธุ์ไทย โดยเปรียบเทียบ ความสูงต้น ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนี้ โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 7.44±0.23 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 11.97±0.39 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 4.80±0.19 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.98±0.14 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.79±0.07 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 2.23±0.11 เซนติเมตร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ปัจจุบันมีการนาเทคนิคการฉายรังสีแกมมาใช้ประโยชน์ในการสร้างความแปรปรวนของฐานพันธุกรรมของพืชให้มีความหลากหลายมากขึ้น จึงนามาทาการศึกษาต่อความงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 0 , 500 และ 600 เกรย์ พบว่าปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทาให้พืชมีเปอร์เซ็นต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4 เมล็ดที่ได้รับการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 500 และ 600 เกรย์ ส่งผลทาให้พืชชะงักการเจิญเติบโตและตายในที่สุด จึงทาการเปรียบเทียบ ระหว่างโหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส กับต้นที่ไม่ได้รับการฉายรังสี (Control) และโหระพาพันธุ์ไทย โดยเปรียบเทียบ ความสูงต้น ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนี้ โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 7.44±0.23 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 11.97±0.39 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 4.80±0.19 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.98±0.14 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.79±0.07 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 2.23±0.11 เซนติเมตร |