การลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่าด้วยสารชีวภัณฑ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่า ด้วยสารชีวภัณฑ์ที่ผลิตโดยสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยการเพาะต้นกล้าบนวัสดุปลูก ปุ๋ยหมัก ขุยมะพร้าว พีทมอส อัตราส่วน 1:1:1 เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ทาการออกแบบการทดลองแบบ CRD มี 5 กรรมวิธี 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 ไม่ฉีดพ่นสารเคมีและสารชีวภัณฑ์ กรรมวิธีที่ 2-5 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 2 รองก้นหลุมด้วย พีพี สเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ในสัปดาห์ที่ 2-4 ได้แก่ พีพีบี10 พีพี ไตรโคเดอร์มา พีพีบีเค33 ตามลาดับ และกรรมวิธีที่ 4 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และ ฉีดพ่นพีพีไตรโคเดอร์มาในสัปดาห์ที่ 4 เป็นกรรมวิธีที่มีเปอร์เซ็นต์การตายน้อยกว่ากรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ 0.32% และ 0.64 % ตามลาดับ ส่วนกรรมวิธีที่พบเปอร์เซ็นต์การตายมากที่สุดคือกรรมวิธีที่ 1 (7.37%) การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่า ด้วยสารชีวภัณฑ์ที่ผลิตโดยสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยการเพาะต้นกล้าบนวัสดุปลูก ปุ๋ยหมัก ขุยมะพร้าว พีทมอส อัตราส่วน 1:1:1 เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ทาการออกแบบการทดลองแบบ CRD มี 5 กรรมวิธี 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 ไม่ฉีดพ่นสารเคมีและสารชีวภัณฑ์ กรรมวิธีที่ 2-5 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 2 รองก้นหลุมด้วย พีพี สเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ในสัปดาห์ที่ 2-4 ได้แก่ พีพีบี10 พีพี ไตรโคเดอร์มา พีพีบีเค33 ตามลาดับ และกรรมวิธีที่ 4 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และ ฉีดพ่นพีพีไตรโคเดอร์มาในสัปดาห์ที่ 4 เป็นกรรมวิธีที่มีเปอร์เซ็นต์การตายน้อยกว่ากรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ 0.32% และ 0.64 % ตามลาดับ ส่วนกรรมวิธีที่พบเปอร์เซ็นต์การตายมากที่สุดคือกรรมวิธีที่ 1 (7.37%) |