การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม ในถั่วเขียว (VIGNA RADIATA (L.) R. WILCZEK) พันธุ์ชัยนาท 72 อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ถั่วเขียวเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตของถั่วเขียวลดลง เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ยเคมีและค่าจ้างแรงงาน การใช้ปุ๋ยไรโซเบียมจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตในการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของเกษตรกรและยังช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของถั่ว ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตและผลผลิตถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 72 โดยการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 คือ ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 2 คือ ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน และไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 3 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง กรรมวิธีที่ 4 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลว ผลการทดลองพบว่า การใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวทาให้ลักษณะ จานวนกิ่ง น้าหนักเมล็ดต่อแปลงย่อย ผลผลิตต่อแปลงย่อย น้าหนักผลผลิตต่อไร่ น้าหนัก 100 เมล็ด และน้าหนัก 1000 เมล็ด สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีอื่น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ) เนื่องจากปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเหลวแบบใหม่ ยังคงประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง และยังคงอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในส่วนของการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นถั่วเขียว ทาให้ไม่สามารถเห็นผลแตกต่างกันได้อย่างชัดเจน จากงานวิจัยนี้แนะนาให้ควรทาการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยา และน่าเชื่อถือก่อนจะนาไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป ถั่วเขียวเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตของถั่วเขียวลดลง เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ยเคมีและค่าจ้างแรงงาน การใช้ปุ๋ยไรโซเบียมจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตในการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของเกษตรกรและยังช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของถั่ว ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตและผลผลิตถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 72 โดยการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 คือ ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 2 คือ ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน และไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 3 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง กรรมวิธีที่ 4 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลว ผลการทดลองพบว่า การใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวทาให้ลักษณะ จานวนกิ่ง น้าหนักเมล็ดต่อแปลงย่อย ผลผลิตต่อแปลงย่อย น้าหนักผลผลิตต่อไร่ น้าหนัก 100 เมล็ด และน้าหนัก 1000 เมล็ด สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีอื่น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ) เนื่องจากปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเหลวแบบใหม่ ยังคงประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง และยังคงอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในส่วนของการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นถั่วเขียว ทาให้ไม่สามารถเห็นผลแตกต่างกันได้อย่างชัดเจน จากงานวิจัยนี้แนะนาให้ควรทาการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยา และน่าเชื่อถือก่อนจะนาไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป |