การเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิล (Silybum marianum) ในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จานวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 8 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ทางการค้าที่เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเซิล 60 ppm และ 150 ppm พบว่า น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการไข่ อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจาเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง และขนาดไข่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) (P>0.05) (P>0.05) ในทุกช่วงอายุและตลอดการทดลอง แต่ที่อายุ 89-92 สัปดาห์พบว่า ดัชนีไข่แดง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) สีไข่แดง มีแนวโน้มจะแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.06) และที่อายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่าค่าความถ่วงจาเพาะ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นสามารถเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดระวาง โดยไม่มีผลเสีย ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จานวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 8 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ทางการค้าที่เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเซิล 60 ppm และ 150 ppm พบว่า น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการไข่ อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจาเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง และขนาดไข่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) (P>0.05) (P>0.05) ในทุกช่วงอายุและตลอดการทดลอง แต่ที่อายุ 89-92 สัปดาห์พบว่า ดัชนีไข่แดง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) สีไข่แดง มีแนวโน้มจะแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.06) และที่อายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่าค่าความถ่วงจาเพาะ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นสามารถเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดระวาง โดยไม่มีผลเสีย ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ |