อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการชักนาต้นพิงกุยจากแผ่นใบ และระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราว อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช พิงกุยคูล่า (Pinguicula) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ บัตเตอร์เวิร์ด (Butterworth) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae สกุล Pinguicula มีการกระจายพันธุ์เกือบทั่วโลก แต่จะพบทางซีกโลกเหนือ แถบเม็กซิโกและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ สามารถนามาปลูกเลี้ยงได้ในประเทศไทยเนื่องจากในปัจจุบันมีการนาเข้ามาปลูกเลี้ยง และจาหน่ายเป็นไม้ประดับในประเทศไทย ต้นพิงกุยคูล่ามีลักษณะพิเศษ คือเป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชกินแมลงหรือพืชกินสัตว์ ดังนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งที่จะนามาขยายพันธุ์ให้มีการเพิ่มจานวนมากขึ้น และทาให้รวดเร็วเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด การทดลองนี้ทาเพื่อศึกษาการเกิดจานวนยอดโดยการใช้แผ่นใบเลี้ยงบนอาหาร Murashige and Skoog (MS) ร่วมกับ 6-Benzyladenine (BA) ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอดบนแผ่นใบ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 5 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 4 สัปดาห์สูตรอาหาร MS ร่วมกับ BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตรให้จานวนยอดบนแผ่นใบเฉลี่ยมากที่สุด 18.92±2.34 ยอด และการศึกษาระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวจานวน 1 ครั้ง/วัน 2 ครั้ง/วัน 3 ครั้ง/วัน ครั้งละ 2 นาที วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 8 สัปดาห์การเจริญเติบโตของพิงกุยคูล่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ พิงกุยคูล่า (Pinguicula) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ บัตเตอร์เวิร์ด (Butterworth) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae สกุล Pinguicula มีการกระจายพันธุ์เกือบทั่วโลก แต่จะพบทางซีกโลกเหนือ แถบเม็กซิโกและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ สามารถนามาปลูกเลี้ยงได้ในประเทศไทยเนื่องจากในปัจจุบันมีการนาเข้ามาปลูกเลี้ยง และจาหน่ายเป็นไม้ประดับในประเทศไทย ต้นพิงกุยคูล่ามีลักษณะพิเศษ คือเป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชกินแมลงหรือพืชกินสัตว์ ดังนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งที่จะนามาขยายพันธุ์ให้มีการเพิ่มจานวนมากขึ้น และทาให้รวดเร็วเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด การทดลองนี้ทาเพื่อศึกษาการเกิดจานวนยอดโดยการใช้แผ่นใบเลี้ยงบนอาหาร Murashige and Skoog (MS) ร่วมกับ 6-Benzyladenine (BA) ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอดบนแผ่นใบ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 5 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 4 สัปดาห์สูตรอาหาร MS ร่วมกับ BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตรให้จานวนยอดบนแผ่นใบเฉลี่ยมากที่สุด 18.92±2.34 ยอด และการศึกษาระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวจานวน 1 ครั้ง/วัน 2 ครั้ง/วัน 3 ครั้ง/วัน ครั้งละ 2 นาที วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 8 สัปดาห์การเจริญเติบโตของพิงกุยคูล่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ |