การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม โดยใช้พิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ที่ได้จากการขยายพันธุ์โดยการปักชา ได้ทาการทดลอง ณ โรงเรือนไม้ดอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2562 การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทาการปักชาพิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 6 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 18 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED6A3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED61B พบว่าหลังจากการปักชา 14 วัน ของพิทูเนียลูกผสมทั้ง 5 เบอร์ พบว่าในการปักชามีเปอร์เซ็นต์การรอดของการปักชาที่ดีที่สุดค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ จานวนดอกในระยะออกดอกเต็มที่ ระยะ 45-50 วัน โดยนับดอกทั้งหมดของการปักชาพิทูเนียลูกผสม พิทูเนียพันธุ์ Petunia hybriba Vilm จานวน 5 เบอร์ พบว่าในพิทูเนียเบอร์18 มีการปักชามีการติดดอกเยอะที่สุด 17 ดอก ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกจานวน 3 ดอก ต่อ 1 ต้น ในระยะที่ดอกบานเต็มที่ (45-50 วัน) โดยพบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดอกเฉลี่ยดอกบานมากที่สุดอยู่ที่ช่วง 5.87 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบจานวน 3 ใบ ต่อ 1 ต้น ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใบมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 2.58 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มทั้ง 5 พันธุ์ ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มมีขนาดเฉี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 14.50 เซนติเมตร มีแนวโน้มในการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อผลผลิตเป็นไม้ดอกกระถางได้ และสามารถนาไปพัฒนาต่อได้ การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม โดยใช้พิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ที่ได้จากการขยายพันธุ์โดยการปักชา ได้ทาการทดลอง ณ โรงเรือนไม้ดอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2562 การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทาการปักชาพิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 6 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 18 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED6A3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED61B พบว่าหลังจากการปักชา 14 วัน ของพิทูเนียลูกผสมทั้ง 5 เบอร์ พบว่าในการปักชามีเปอร์เซ็นต์การรอดของการปักชาที่ดีที่สุดค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ จานวนดอกในระยะออกดอกเต็มที่ ระยะ 45-50 วัน โดยนับดอกทั้งหมดของการปักชาพิทูเนียลูกผสม พิทูเนียพันธุ์ Petunia hybriba Vilm จานวน 5 เบอร์ พบว่าในพิทูเนียเบอร์18 มีการปักชามีการติดดอกเยอะที่สุด 17 ดอก ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกจานวน 3 ดอก ต่อ 1 ต้น ในระยะที่ดอกบานเต็มที่ (45-50 วัน) โดยพบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดอกเฉลี่ยดอกบานมากที่สุดอยู่ที่ช่วง 5.87 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบจานวน 3 ใบ ต่อ 1 ต้น ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใบมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 2.58 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มทั้ง 5 พันธุ์ ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มมีขนาดเฉี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 14.50 เซนติเมตร มีแนวโน้มในการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อผลผลิตเป็นไม้ดอกกระถางได้ และสามารถนาไปพัฒนาต่อได้ |