อิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) ผู้แต่ง : นางสาวอรุณทิพย์ อังกาบ อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ปีการศึกษา : 2557
ดูบทคัดย่อ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งชนิดต่างๆที่มีผลต่อการยืดอายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีเขียว ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วนาไปปักแจกันในน้ากลั่น โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ใช้ดอกกุหลาบทั้งหมด 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆ ดังนี้
ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ากลั่น (Control) ทรีตเมนต์ที่ 2 8-HQS 400 ppm + น้าตาลซูโครส 10%
ทรีตเมนต์ที่ 3 Citric acid 500 ppm + น้าตาลซูโครส 10% ทรีตเมนต์ที่4 Physan-20 600 ppm + น้าตาลซูโครส 10% ผลการทดลองพบว่าอายุการปักแจกันของทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 ในการเปลี่ยนแปลงของน้าหนักสด น้าหนักจะเริ่มลดลงในวันที่ 3 จนถึงวันสิ้นสุดการทดลอง โดยในวันที่ 3, 4 และ 5 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 คะแนนความสดของดอกกุหลาบจะลดลงทุกวันอย่างต่อเนื่อง โดยในวันที่ 2, 3 และ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 4 มีความแตกต่างกับทรีตเมนต์อื่นๆอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง ปริมาณการดูดน้ามีการดูดน้าที่มากที่สุดในวันที่ 2 และลดลงทุกๆวัน โดยในวันที่ 2 และ 5 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของดอกทุกทรีตเมนต์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพิ่มขึ้นมากที่สุดในวันที่ 2 หลังจากนั้นในวันที่ 3 ทุกทรีตเมนต์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลดลงทุกวัน โดยที่ในแต่ละวันทุกทรีตเมนต์ไม่มีความ
แตกต่างกันทางสถิติแต่มีแนวโน้วว่า ทรีตเมนต์ที่ 2 และ 4 จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า ทรีตเมนต์ที่ 1 และ 3 ค่า L หรือค่าความสว่างของดอกมีค่าใกล้เคียงกัน ทุกทรีตเมนต์จึงไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ค่า a หรือค่าความเข้มสี ทุกทรีตเมนต์มีค่า a ติดลบลดลงทุกวัน จนถึงวันที่สิ้นสุดการทดลอง ทุก
ทรีตเมนต์มีค่า a ที่ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งชนิดต่างๆที่มีผลต่อการยืดอายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีเขียว ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วนาไปปักแจกันในน้ากลั่น โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ใช้ดอกกุหลาบทั้งหมด 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆ ดังนี้
ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ากลั่น (Control) ทรีตเมนต์ที่ 2 8-HQS 400 ppm + น้าตาลซูโครส 10%
ทรีตเมนต์ที่ 3 Citric acid 500 ppm + น้าตาลซูโครส 10% ทรีตเมนต์ที่4 Physan-20 600 ppm + น้าตาลซูโครส 10% ผลการทดลองพบว่าอายุการปักแจกันของทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 ในการเปลี่ยนแปลงของน้าหนักสด น้าหนักจะเริ่มลดลงในวันที่ 3 จนถึงวันสิ้นสุดการทดลอง โดยในวันที่ 3, 4 และ 5 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 คะแนนความสดของดอกกุหลาบจะลดลงทุกวันอย่างต่อเนื่อง โดยในวันที่ 2, 3 และ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 4 มีความแตกต่างกับทรีตเมนต์อื่นๆอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง ปริมาณการดูดน้ามีการดูดน้าที่มากที่สุดในวันที่ 2 และลดลงทุกๆวัน โดยในวันที่ 2 และ 5 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2, 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งกับทรีตเมนต์ที่ 1 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของดอกทุกทรีตเมนต์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพิ่มขึ้นมากที่สุดในวันที่ 2 หลังจากนั้นในวันที่ 3 ทุกทรีตเมนต์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลดลงทุกวัน โดยที่ในแต่ละวันทุกทรีตเมนต์ไม่มีความ
แตกต่างกันทางสถิติแต่มีแนวโน้วว่า ทรีตเมนต์ที่ 2 และ 4 จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า ทรีตเมนต์ที่ 1 และ 3 ค่า L หรือค่าความสว่างของดอกมีค่าใกล้เคียงกัน ทุกทรีตเมนต์จึงไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ค่า a หรือค่าความเข้มสี ทุกทรีตเมนต์มีค่า a ติดลบลดลงทุกวัน จนถึงวันที่สิ้นสุดการทดลอง ทุก
ทรีตเมนต์มีค่า a ที่ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ
|