การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ ฟอลรอลสไปเรส ไวท์ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ การเจริญเติบโต ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ และศึกษาผลของรังแกมมาที่มีต่อการงอกของเมล็ดโหระพาประดับ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design(CRD) แบ่งออกเป็น 3 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 4 ซ้้า (ซ้้าละ 25 ต้น) กรรมวิธีที่ 1 เมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา กรรมวิธีที่ 2 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 500 เกรย์ กรรมวิธีที่ 3 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 600 เกรย์ หลังจากการฉายรังสีแกมมา พบว่าหลังจากการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ และ 3 สัปดาห์ การรอดของเมล็ดลดลงอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมา หลังการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่21.25±1.93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่17.50 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 16.25±0.8 เปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตที่2 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิต เมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่19.50±1.93 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่ 13.25±1.25 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 13.75±0.47 93 เปอร์เซ็นต์ และที่ 3สัปดาห์ หลังการเพาะเมล็ด พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่ 17.00±2.16 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์อยู่ที่ 12.00±1.08 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 12.25±0.85 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมามีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตซึ่งปริมาณรังสีที่สูงเกินไปส่งผลให้โหระพาประดับมีการอัตรารอดชีวิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา(Control) และเก็บข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาของต้นโหระพาประดับที่รอดชีวิต การเจริญเติบโตของต้นโหระพาประดับระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ (120 วันหลังการย้ายปลูก) เปรียบเทียบกับโหระพาพันธุ์ไทย โดยการสุ่มวัดความสูง ความยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวน 10 ต้น ในสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่8 ซึ่งข้อมูล ทั้งหมดจะน้าไปใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงพันธุ์โหระพาต่อไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ การเจริญเติบโต ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ และศึกษาผลของรังแกมมาที่มีต่อการงอกของเมล็ดโหระพาประดับ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design(CRD) แบ่งออกเป็น 3 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 4 ซ้้า (ซ้้าละ 25 ต้น) กรรมวิธีที่ 1 เมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา กรรมวิธีที่ 2 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 500 เกรย์ กรรมวิธีที่ 3 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 600 เกรย์ หลังจากการฉายรังสีแกมมา พบว่าหลังจากการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ และ 3 สัปดาห์ การรอดของเมล็ดลดลงอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมา หลังการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่21.25±1.93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่17.50 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 16.25±0.8 เปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตที่2 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิต เมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่19.50±1.93 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่ 13.25±1.25 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 13.75±0.47 93 เปอร์เซ็นต์ และที่ 3สัปดาห์ หลังการเพาะเมล็ด พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่ 17.00±2.16 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์อยู่ที่ 12.00±1.08 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 12.25±0.85 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมามีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตซึ่งปริมาณรังสีที่สูงเกินไปส่งผลให้โหระพาประดับมีการอัตรารอดชีวิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา(Control) และเก็บข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาของต้นโหระพาประดับที่รอดชีวิต การเจริญเติบโตของต้นโหระพาประดับระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ (120 วันหลังการย้ายปลูก) เปรียบเทียบกับโหระพาพันธุ์ไทย โดยการสุ่มวัดความสูง ความยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวน 10 ต้น ในสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่8 ซึ่งข้อมูล ทั้งหมดจะน้าไปใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงพันธุ์โหระพาต่อไป |