อิทธิพลของขนาดพื้นที่ใบต่อผลผลิตแตงเทศ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบอิทธิพลของพื้นที่ใบที่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศพันธุ์กาเลีย ณ โรงเรือนตาข่าย รัตนสุขฟาร์ม ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ถึง วันที่ 2 กันยายน 2560 โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 3 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 6 ซ้้า คือ 0.8 1.0 และ 1.2 ตารางเมตร โดยท้าการเก็บข้อมูลดังต่อไปนี้คือ น้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหนาเนื้อและ ความหวาน (ºbrix) จากการทดลองพบว่า ความหนาเนื้อมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ส้าหรับน้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหวาน (ºbrix) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) อย่างไรก็ตามการไว้พื้นที่ใบไม่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศ แต่มีแนวโน้มการไว้พื้นที่ใบที่ 0.8 ตารางเมตร ให้น้้าหนักผลเฉลี่ยสูงสุด 2076.90 กรัม ให้เปอร์เซ็นต์ความหนาเนื้อของแตงเทศทั้ง 4 ด้านได้แก่ ความหนาด้านบน ความหนาด้านล่าง ความหนาด้านขวา และความหนาด้านซ้าย เท่ากับ 3.13, 3.29, 4.62 และ 4.56 ตามล้าดับ และให้ความหวานเฉลี่ยสูงสุด คือ 10.33 (ºbrix) การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบอิทธิพลของพื้นที่ใบที่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศพันธุ์กาเลีย ณ โรงเรือนตาข่าย รัตนสุขฟาร์ม ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ถึง วันที่ 2 กันยายน 2560 โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 3 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 6 ซ้้า คือ 0.8 1.0 และ 1.2 ตารางเมตร โดยท้าการเก็บข้อมูลดังต่อไปนี้คือ น้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหนาเนื้อและ ความหวาน (ºbrix) จากการทดลองพบว่า ความหนาเนื้อมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ส้าหรับน้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหวาน (ºbrix) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) อย่างไรก็ตามการไว้พื้นที่ใบไม่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศ แต่มีแนวโน้มการไว้พื้นที่ใบที่ 0.8 ตารางเมตร ให้น้้าหนักผลเฉลี่ยสูงสุด 2076.90 กรัม ให้เปอร์เซ็นต์ความหนาเนื้อของแตงเทศทั้ง 4 ด้านได้แก่ ความหนาด้านบน ความหนาด้านล่าง ความหนาด้านขวา และความหนาด้านซ้าย เท่ากับ 3.13, 3.29, 4.62 และ 4.56 ตามล้าดับ และให้ความหวานเฉลี่ยสูงสุด คือ 10.33 (ºbrix) |