ผลของสารละลายย้อมสีม่วงที่มีต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสี ผู้แต่ง : นายบุญส่ง อังชุน อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ประธานหลักสูตร : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิกา อัมพุช ปีการศึกษา : 2560
ดูบทคัดย่อ ผลของสารละลายย้อมสีม่วงที่มีต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสี โดยวางแผนการทดลองแบบ ( Completely Randomized Design : CRD ) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ทรีตเมนต์ละ 5 ดอก ใช้ดอกกุหลาบ 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้
ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ากลั่น (control) ทรีตเมนต์ที่2 สีม่วงชนิดA เป็นสีม่วงผสมอาหารชนิดน้า (มีส่วนผสมของ คาร์โมอีซีน 1.80%, บริลเลียนท์บลู เอ็ฟซีเอ็ฟ 0.60%, กรดซิตริก 0.60%) ทรีตเมนต์ที่3 สีม่วงชนิดB เป็นสีม่วงผสมอาหารชนิดผง (มีส่วนผสมของ โซเดียมคลอไรด์ 54.6%, คาร์โมอีซีน 36.3%, บริลเลียนท์บลู เอ็ฟซีเอ็ฟ 9.1%) ทรีตเมนต์ที่ 4 สีม่วงชนิดC เป็นสีม่วง ผสมอาหารชนิดผง(มีส่วนผสมของ โซเดียมคลอไรด์ 51%, คาร์โมอีซีน 44% บริลเลียนท์บลู เอ็ฟซีเอ็ฟ 5%) โดยทาการเด็ดใบออกให้เหลือ 3 ชุดใบ ดอกกุหลาบงดน้า 3 ซั่วโมง ตัดโคนก้าน ให้เฉียง แล้วนามาแช่ในสารละลายสีม่วง เป็นเวลา 18ชั่วโมง แล้วนามาปักแจกันในสารละลายเพื่อศึกษา อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้าหนักสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ ปริมาณการดูดน้าในแต่ละวันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ เส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ คะแนนความสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ และสีของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ ผลการทดลองพบว่า อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ ทรีตเมนต์ที่ 1 มีอายุการปักแจกันได้นานที่สุดคือ 3 วัน ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้าหนักสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้าหนักมากที่สุดและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 ปริมาณการดูดน้าในแต่ละวันของดอกกุหลาบ พบว่าวันที่ 2,3 และ4 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีการดูดน้ามากที่สุดและ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์อื่นๆ เส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบ ที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ พบว่าวันที่ 1,2 และ 3 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิตกับทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 คะแนนความสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ พบว่า วันที่ 2 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีคะแนนความสดมากที่สุดและมี ความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์อื่นๆ ค่าของสีพบว่าดอกกุหลาบทั้งหมดเริ่มต้นที่สีขาวนวลอมเหลือง ทรีตเมนต์ที่ 1 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสีตลอดการทดลอง ทรีตเมนต์ที่ 2
เปลี่ยนเป็นสีม่วงอมน้าเงิน ทรีตเมนต์ที่ 3 เปลี่ยนเป็นสีม่วงอมแดง ทรีตเมนต์ที่ 4 เปลี่ยนเป็นสีม่วง พบว่าทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 มีการเปลี่ยนแปลงของสีที่เข้มขึ้นตามจานวนวันที่ทาการทดลอง
ผลของสารละลายย้อมสีม่วงที่มีต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสี โดยวางแผนการทดลองแบบ ( Completely Randomized Design : CRD ) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ทรีตเมนต์ละ 5 ดอก ใช้ดอกกุหลาบ 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้
ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ากลั่น (control) ทรีตเมนต์ที่2 สีม่วงชนิดA เป็นสีม่วงผสมอาหารชนิดน้า (มีส่วนผสมของ คาร์โมอีซีน 1.80%, บริลเลียนท์บลู เอ็ฟซีเอ็ฟ 0.60%, กรดซิตริก 0.60%) ทรีตเมนต์ที่3 สีม่วงชนิดB เป็นสีม่วงผสมอาหารชนิดผง (มีส่วนผสมของ โซเดียมคลอไรด์ 54.6%, คาร์โมอีซีน 36.3%, บริลเลียนท์บลู เอ็ฟซีเอ็ฟ 9.1%) ทรีตเมนต์ที่ 4 สีม่วงชนิดC เป็นสีม่วง ผสมอาหารชนิดผง(มีส่วนผสมของ โซเดียมคลอไรด์ 51%, คาร์โมอีซีน 44% บริลเลียนท์บลู เอ็ฟซีเอ็ฟ 5%) โดยทาการเด็ดใบออกให้เหลือ 3 ชุดใบ ดอกกุหลาบงดน้า 3 ซั่วโมง ตัดโคนก้าน ให้เฉียง แล้วนามาแช่ในสารละลายสีม่วง เป็นเวลา 18ชั่วโมง แล้วนามาปักแจกันในสารละลายเพื่อศึกษา อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้าหนักสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ ปริมาณการดูดน้าในแต่ละวันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ เส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ คะแนนความสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ และสีของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ ผลการทดลองพบว่า อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ ทรีตเมนต์ที่ 1 มีอายุการปักแจกันได้นานที่สุดคือ 3 วัน ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้าหนักสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้าหนักมากที่สุดและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 ปริมาณการดูดน้าในแต่ละวันของดอกกุหลาบ พบว่าวันที่ 2,3 และ4 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีการดูดน้ามากที่สุดและ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์อื่นๆ เส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบ ที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ พบว่าวันที่ 1,2 และ 3 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิตกับทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 คะแนนความสดของดอกกุหลาบที่ย้อมสีม่วงชนิดต่างๆ พบว่า วันที่ 2 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีคะแนนความสดมากที่สุดและมี ความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์อื่นๆ ค่าของสีพบว่าดอกกุหลาบทั้งหมดเริ่มต้นที่สีขาวนวลอมเหลือง ทรีตเมนต์ที่ 1 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสีตลอดการทดลอง ทรีตเมนต์ที่ 2
เปลี่ยนเป็นสีม่วงอมน้าเงิน ทรีตเมนต์ที่ 3 เปลี่ยนเป็นสีม่วงอมแดง ทรีตเมนต์ที่ 4 เปลี่ยนเป็นสีม่วง พบว่าทรีตเมนต์ที่ 2,3 และ 4 มีการเปลี่ยนแปลงของสีที่เข้มขึ้นตามจานวนวันที่ทาการทดลอง
|