ผลการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงที่ใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้น โดยใช้ไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จานวน 120 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ทาการทดลองโดยสุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่าการใช้วัสดุรองพื้นกลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นวัสดุรองพื้นไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงโดยไก่กระทงทุกกลุ่มมีน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและอัตราการตายตลอดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงที่ใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้น โดยใช้ไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จานวน 120 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ทาการทดลองโดยสุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่าการใช้วัสดุรองพื้นกลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นวัสดุรองพื้นไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงโดยไก่กระทงทุกกลุ่มมีน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและอัตราการตายตลอดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) |