การศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายใต้โรงเรือนควบคุมอุณหภูมิ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช แตงกวาญี่ปุ่น เป็นพืชที่กาลังเป็นที่นิยมบริโภค ปลูกในแถบภาคเหนือ ปลูกได้ตลอดทั้งปี แต่มีราคาสูง จึงนามาปลูกในโรงเรือนเพื่อป้องกันศัตรูพืช การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกนิยมใช้ปลูกพืชในโรงเรือน เพื่อเพิ่มผลผลิตแตงกวาญี่ปุ่นให้ประสบความสาเร็จจึงต้องคานึงถึงชนิดและคุณสมบัติของวัสดุปลูกที่เหมาะสม การทดลองครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกชนิดต่างๆที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายในโรงเรือน นาต้นกล้าแตงกวาญี่ปุ่นอายุ 7 วัน มาย้ายปลูกในวัสดุปลูกที่แตกต่างกัน 10 ชนิด ภายใต้โรงเรือน จานวน 5 ซ้า บันทึกข้อมูล 12 ลักษณะ พบว่า ค่าเฉลี่ยความสูงลาต้นหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่ดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 2:1:1 เท่ากับ 64.67 เซนติเมตร หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 สูงที่สุด เท่ากับ 143.20 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 สูงที่สุด เท่ากับ 223.40 เซนติเมตร จานวนใบหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขุยมะพร้าว เท่ากับ 8 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 17 ใบ และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:2:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 25 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วันเส้นผ่านศูนย์กลางลาต้น ขุยมะพร้าว มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 1.8 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน แกลบเผา ค่าเฉลี่ยสูงสุด 2.15 เซนติเมตร จานวนและความยาวแขนง ใบแขนง น้าหนัก ความกว้างและปริมาตรผล ความหนาเนื้อ ความหนาเปลือก และความหวานเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ วัสดุปลูกที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้คือ ขุยมะพร้าวและแกลบเผา แตงกวาญี่ปุ่น เป็นพืชที่กาลังเป็นที่นิยมบริโภค ปลูกในแถบภาคเหนือ ปลูกได้ตลอดทั้งปี แต่มีราคาสูง จึงนามาปลูกในโรงเรือนเพื่อป้องกันศัตรูพืช การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกนิยมใช้ปลูกพืชในโรงเรือน เพื่อเพิ่มผลผลิตแตงกวาญี่ปุ่นให้ประสบความสาเร็จจึงต้องคานึงถึงชนิดและคุณสมบัติของวัสดุปลูกที่เหมาะสม การทดลองครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกชนิดต่างๆที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายในโรงเรือน นาต้นกล้าแตงกวาญี่ปุ่นอายุ 7 วัน มาย้ายปลูกในวัสดุปลูกที่แตกต่างกัน 10 ชนิด ภายใต้โรงเรือน จานวน 5 ซ้า บันทึกข้อมูล 12 ลักษณะ พบว่า ค่าเฉลี่ยความสูงลาต้นหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่ดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 2:1:1 เท่ากับ 64.67 เซนติเมตร หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 สูงที่สุด เท่ากับ 143.20 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 สูงที่สุด เท่ากับ 223.40 เซนติเมตร จานวนใบหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขุยมะพร้าว เท่ากับ 8 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 17 ใบ และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:2:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 25 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วันเส้นผ่านศูนย์กลางลาต้น ขุยมะพร้าว มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 1.8 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน แกลบเผา ค่าเฉลี่ยสูงสุด 2.15 เซนติเมตร จานวนและความยาวแขนง ใบแขนง น้าหนัก ความกว้างและปริมาตรผล ความหนาเนื้อ ความหนาเปลือก และความหวานเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ วัสดุปลูกที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้คือ ขุยมะพร้าวและแกลบเผา |