อิทธิพลของสารละลายปักแจกัน (Holding Solution) ที่มีต่ออายุการปักแจกัน ของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนำดอกกุหลาบสีขาวดอกใหญ่มาย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) แล้วนำมาปักแจกันในสารละลายต่างๆวางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ (Tretment) 3 ซ้ำ (Replication) โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้ ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ำกลั่น (Control) ทรีตเมนต์ที่ 2 เอทานอล 2% + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 3 กรดซิตริก 150 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 4 กรดซาลิไซลิก300 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ผลการทดลองครั้งนี้พบว่า อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) ทรีตเมนต์ที่ 2 และทรีตเมนต์ที่ 4 มีอายุการปักแจกันนานที่สุด คือ 5.06 วันรองลงมาคือทรีตเมนต์ที่ 3 และ 1 มีอายุการปักแจกัน 4.93 และ 3.73 วันตามลำดับ ทรีตเมนต์ที่ 2 ทรีตเมนต์ ที่ 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1ปริมาณการดูดน้ำของทุกทรีตเมนต์เริ่มที่ 0 มิลลิลิตร โดยวันที่ 2 และวันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบ วันที่ 0 และวันที่ 1 ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยวันที่ 2 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 3และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุก ทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 คะแนนความสด หลังจากย้อมสีแล้ว ทุกทรีตเมนต์ มีคะแนนความสดเท่ากับ 5 ซึ่งเป็นคะแนนที่ดีมาก และคะแนนจะลดลงเรื่อยๆในวันต่อมาจนสิ้นสุดการทดลองเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักสดของดอกกุหลาบทุกทรีตเมนต์จะเริ่มที่ 100 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นในวันที่ 2 และวันที่ 3 แต่ทรีตเมนต์ที่ 1 ของวันที่ 3 มีน้ำหนักลดลงจาก 104.70 เป็น 102.57 เปอร์เซ็นต์ ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังจากนั้นในวันที่ 4 ถึง วันที่ 7 ทุกทรีตเมนต์มีน้ำหนักลดลง โดย ทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้ำหนักลดลงมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทุกทรีตเมนต์ ค่า L ของดอกกุหลาบในวันที่ 0 ถึงวันที่ 7 ค่าความสว่างของสี ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติและค่า a ของดอกกุหลาบในวันที่ 1 ถึงวันที่ 7 ค่า a ของทุกทรีตเมนต์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ การทดลองนำดอกกุหลาบสีขาวดอกใหญ่มาย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) แล้วนำมาปักแจกันในสารละลายต่างๆวางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ (Tretment) 3 ซ้ำ (Replication) โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้ ทรีตเมนต์ที่ 1 น้ำกลั่น (Control) ทรีตเมนต์ที่ 2 เอทานอล 2% + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 3 กรดซิตริก 150 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ทรีตเมนต์ที่ 4 กรดซาลิไซลิก300 ppm + น้ำตาลซูโครส 5% ผลการทดลองครั้งนี้พบว่า อายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) ทรีตเมนต์ที่ 2 และทรีตเมนต์ที่ 4 มีอายุการปักแจกันนานที่สุด คือ 5.06 วันรองลงมาคือทรีตเมนต์ที่ 3 และ 1 มีอายุการปักแจกัน 4.93 และ 3.73 วันตามลำดับ ทรีตเมนต์ที่ 2 ทรีตเมนต์ ที่ 3 และ 4 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1ปริมาณการดูดน้ำของทุกทรีตเมนต์เริ่มที่ 0 มิลลิลิตร โดยวันที่ 2 และวันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีปริมาณการดูดน้ำมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเส้นผ่าศูนย์กลางของดอกกุหลาบ วันที่ 0 และวันที่ 1 ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยวันที่ 2 ทรีตเมนต์ที่ 1 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 3และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 3 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 4 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 วันที่ 5 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด ทุก ทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วันที่ 6 ทรีตเมนต์ที่ 3 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ทรีตเมนต์ที่ 1 วันที่ 7 ทรีตเมนต์ที่ 2 มีเส้นผ่าศูนย์กลางมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทรีตเมนต์ที่ 1 และทรีตเมนต์ที่ 4 คะแนนความสด หลังจากย้อมสีแล้ว ทุกทรีตเมนต์ มีคะแนนความสดเท่ากับ 5 ซึ่งเป็นคะแนนที่ดีมาก และคะแนนจะลดลงเรื่อยๆในวันต่อมาจนสิ้นสุดการทดลองเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักสดของดอกกุหลาบทุกทรีตเมนต์จะเริ่มที่ 100 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นในวันที่ 2 และวันที่ 3 แต่ทรีตเมนต์ที่ 1 ของวันที่ 3 มีน้ำหนักลดลงจาก 104.70 เป็น 102.57 เปอร์เซ็นต์ ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังจากนั้นในวันที่ 4 ถึง วันที่ 7 ทุกทรีตเมนต์มีน้ำหนักลดลง โดย ทรีตเมนต์ที่ 1 มีน้ำหนักลดลงมากที่สุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติกับทุกทรีตเมนต์ ค่า L ของดอกกุหลาบในวันที่ 0 ถึงวันที่ 7 ค่าความสว่างของสี ทุกทรีตเมนต์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติและค่า a ของดอกกุหลาบในวันที่ 1 ถึงวันที่ 7 ค่า a ของทุกทรีตเมนต์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ การศึกษาสารอาหารที่ใส่ในอาหารวุ้นเพื่อการเจริญเติบโตของ เส้นใยเห็ดชนิดต่างๆ ที่รับประทานได้ 3 ชนิด คือ เห็ดนางฟ้าภูฐานดา (Pleurotus sajor – caju (Fr.) Sing.) เห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus (Fr.) Kummer.) และเห็ดขอนขาว (Lentinus squarrosulus Mont.) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสารอาหารที่ใส่ในอาหารวุ้นเพื่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดชนิดต่างๆ ที่รับประทานได้ 3 ชนิด คือ เห็ดนางฟ้าภูฐานดา เห็ดนางรมและเห็ดขอนขาวโดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design, CRD) โดยมีสารอาหาร 5 ชนิด (Treatment) คือ มันฝรั่ง, มันเทศ, น้ามะพร้าว, ฟักทอง, ลูกเดือย ทาการทดลอง 3 ซ้า (Replication) ดังนี้คือ การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสารอาหารที่ใส่ในอาหารวุ้นเพื่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดชนิดต่างๆ ที่รับประทานได้ 3 ชนิด คือ เห็ดนางฟ้าภูฐานดา เห็ดนางรมและเห็ดขอนขาวโดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design, CRD) โดยมีสารอาหาร 5 ชนิด (Treatment) คือ มันฝรั่ง, มันเทศ, น้ามะพร้าว, ฟักทอง, ลูกเดือย ทาการทดลอง 3 ซ้า (Replication) ดังนี้คือ อิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสีเขียว (ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งชนิดต่างๆที่มีผลต่อการยืดอายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีเขียว ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วนาไปปักแจกันในน้ากลั่น โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ใช้ดอกกุหลาบทั้งหมด 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆ ดังนี้ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารละลายพัลซิ่งชนิดต่างๆที่มีผลต่อการยืดอายุการปักแจกันของดอกกุหลาบที่ย้อมสีเขียว ฟาสต์กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วนาไปปักแจกันในน้ากลั่น โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ใช้ดอกกุหลาบทั้งหมด 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆ ดังนี้ ผลของสารละลายย้อมสีม่วงที่มีต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสี | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ผลของสารละลายย้อมสีม่วงที่มีต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสี โดยวางแผนการทดลองแบบ ( Completely Randomized Design : CRD ) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ทรีตเมนต์ละ 5 ดอก ใช้ดอกกุหลาบ 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้ ผลของสารละลายย้อมสีม่วงที่มีต่ออายุการปักแจกันของดอกกุหลาบย้อมสี โดยวางแผนการทดลองแบบ ( Completely Randomized Design : CRD ) แบ่งการทดลองออกเป็น 4 ทรีตเมนต์ 3 ซ้า ทรีตเมนต์ละ 5 ดอก ใช้ดอกกุหลาบ 60 ดอก โดยมีทรีตเมนต์ต่างๆดังนี้ การศึกษาการเจริญเติบโตของเห็ดกระด้างโดยใช้ขี้เลื่อยไม้มะม่วงแทนไม้เนื้ออ่อน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำทอง มหวงศ์วิริยะ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองครั้งนี้เป็นการศึกษาความเหมาะสมของการใช้ขี้เลื่อยไม้มะม่วงแทนไม้เนื้ออ่อนในการเพาะเห็ดกระด้าง เพื่อต้องการทราบระยะเวลาในการเจริญเติบโตของเส้นใยของเห็ดกระด้างจนเต็มก้อนเชื้อ จำนวนดอกต่อถุง น้ำหนักต่อดอก ความกว้างของดอก และความยาวของก้านดอก ซึ่งในการใช้ขี้เลื่อยที่เหมาะสมมีในท้องถิ่นและคุ้มค่า ช่วยให้ลดต้นทุนการผลิต ได้อีกทางหนึ่งและจะได้นำผลการทดลองแนะนำส่งเสริมเกษตรกรและผู้ที่สนใจต่อไป โดยวางแผนทดลองเป็นแบบสุ่มสมบูรณ์(Completely Randomized Design : CRD)การทดลองจะแบ่งเป็น 5 สูตร4 ซ้ำ ดังนี้ สูตรอาหารที่ 1 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 % สูตรอาหารที่ 2 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 75 %+ ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 25 % สูตรอาหารที่ 3 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 50 % + ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 50 % สูตรอาหารที่ 4 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 25 % + ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 75 % สูตรอาหารที่ 5 ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 100 % ผลการทดลองปรากฏว่าสูตรอาหารที่ 1ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100% ใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดกระด้างจนเต็มก้อนเชื้อเฉลี่ยต่อถุงมากที่สุดคือ 25วัน จำนวนดอกต่อถุงเฉลี่ย2.3 ดอกน้ำหนักต่อดอกเฉลี่ย28.0 กรัม ความกว้างของดอกเฉลี่ย6.12เซนติเมตร และความยาวของก้านดอกเฉลี่ย6.96เซนติเมตร รองลงมาคือสูตรอาหารที่ 4ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา+ขี้เลื่อยไม้มะม่วง สูตรอาหารที่ 2ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา+ขี้เลื่อยไม้มะม่วงและสูตรอาหารที่ 3ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา+ขี้เลื่อยไม้มะม่วงตามลำดับ ส่วนสูตรอาหารที่ 5 ใช้ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 100 % ให้ผลผลิตต่ำ กล่าวคือ ใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดกระด้างจนเต็มก้อนเชื้อเฉลี่ยต่อถุงจำนวน 20วัน และให้จำนวนดอกต่อถุง1.95ดอก น้ำหนักต่อดอก26.5กรัม ความกว้างของดอก4.91เซนติเมตร และความยาวของก้านดอก 5.65เซนติเมตร เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าจำนวนดอกต่อถุง น้ำหนักต่อดอก ความกว้างของดอกและความยาวของก้านดอกมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ การทดลองครั้งนี้เป็นการศึกษาความเหมาะสมของการใช้ขี้เลื่อยไม้มะม่วงแทนไม้เนื้ออ่อนในการเพาะเห็ดกระด้าง เพื่อต้องการทราบระยะเวลาในการเจริญเติบโตของเส้นใยของเห็ดกระด้างจนเต็มก้อนเชื้อ จำนวนดอกต่อถุง น้ำหนักต่อดอก ความกว้างของดอก และความยาวของก้านดอก ซึ่งในการใช้ขี้เลื่อยที่เหมาะสมมีในท้องถิ่นและคุ้มค่า ช่วยให้ลดต้นทุนการผลิต ได้อีกทางหนึ่งและจะได้นำผลการทดลองแนะนำส่งเสริมเกษตรกรและผู้ที่สนใจต่อไป โดยวางแผนทดลองเป็นแบบสุ่มสมบูรณ์(Completely Randomized Design : CRD)การทดลองจะแบ่งเป็น 5 สูตร4 ซ้ำ ดังนี้ สูตรอาหารที่ 1 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100 % สูตรอาหารที่ 2 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 75 %+ ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 25 % สูตรอาหารที่ 3 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 50 % + ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 50 % สูตรอาหารที่ 4 ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 25 % + ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 75 % สูตรอาหารที่ 5 ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 100 % ผลการทดลองปรากฏว่าสูตรอาหารที่ 1ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา 100% ใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดกระด้างจนเต็มก้อนเชื้อเฉลี่ยต่อถุงมากที่สุดคือ 25วัน จำนวนดอกต่อถุงเฉลี่ย2.3 ดอกน้ำหนักต่อดอกเฉลี่ย28.0 กรัม ความกว้างของดอกเฉลี่ย6.12เซนติเมตร และความยาวของก้านดอกเฉลี่ย6.96เซนติเมตร รองลงมาคือสูตรอาหารที่ 4ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา+ขี้เลื่อยไม้มะม่วง สูตรอาหารที่ 2ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา+ขี้เลื่อยไม้มะม่วงและสูตรอาหารที่ 3ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพารา+ขี้เลื่อยไม้มะม่วงตามลำดับ ส่วนสูตรอาหารที่ 5 ใช้ขี้เลื่อยไม้มะม่วง 100 % ให้ผลผลิตต่ำ กล่าวคือ ใช้ระยะเวลาในการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดกระด้างจนเต็มก้อนเชื้อเฉลี่ยต่อถุงจำนวน 20วัน และให้จำนวนดอกต่อถุง1.95ดอก น้ำหนักต่อดอก26.5กรัม ความกว้างของดอก4.91เซนติเมตร และความยาวของก้านดอก 5.65เซนติเมตร เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าจำนวนดอกต่อถุง น้ำหนักต่อดอก ความกว้างของดอกและความยาวของก้านดอกมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ |