การเปรียบเทียบความหวานและขนาดของผลอินทผลัม สายพันธุ์สยาม S1 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การเปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยที่แตกต่างกันต่อความหวานและขนาดของผลอินทผลัม โดยทำการศึกษาในสวนอินทผลัมของเกษตรกรจำนวน 9 แปลง แบ่งการทดลองออกเป็น 3 สิ่งทดลองได้แก่ การใส่ปุ๋ย 1, 2 และ 3 รอบต่อปี เก็บข้อมูลการทดสอบความหวาน 30 ทะลายต่อสิ่งทดลองและทดสอบขนาดผล 50 ทะลายต่อสิ่งทดลอง ในระยะสุกพร้อมเก็บเกี่ยว (หลังจากผสม 200 วัน) พบว่า การใส่ปุ๋ย 2 รอบต่อปี ส่งผลให้ผลอินทผลัมมีความหวานสูงที่สุด คือ 30.400 องศาบริกซ์ ส่วนการใส่ปุ๋ย 3 รอบต่อปี ส่งผลให้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของผลอินทผลัมใหญ่มากที่สุด คือ 2.4 เซนติเมตร การเปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยที่แตกต่างกันต่อความหวานและขนาดของผลอินทผลัม โดยทำการศึกษาในสวนอินทผลัมของเกษตรกรจำนวน 9 แปลง แบ่งการทดลองออกเป็น 3 สิ่งทดลองได้แก่ การใส่ปุ๋ย 1, 2 และ 3 รอบต่อปี เก็บข้อมูลการทดสอบความหวาน 30 ทะลายต่อสิ่งทดลองและทดสอบขนาดผล 50 ทะลายต่อสิ่งทดลอง ในระยะสุกพร้อมเก็บเกี่ยว (หลังจากผสม 200 วัน) พบว่า การใส่ปุ๋ย 2 รอบต่อปี ส่งผลให้ผลอินทผลัมมีความหวานสูงที่สุด คือ 30.400 องศาบริกซ์ ส่วนการใส่ปุ๋ย 3 รอบต่อปี ส่งผลให้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของผลอินทผลัมใหญ่มากที่สุด คือ 2.4 เซนติเมตร การเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยและการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 22.6 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวดดอกมากที่สุด 13 ดอกต่อช่อ และให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 75.25 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุดในสูตรที่ 1 วัสดุเพาะไม่หมักและไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 110 มิลลิเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุดในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 12 มิลลิเมตร ความยาวก้านดอก 15 เซนติเมตร ความหวาน 3.8 บริกซ์ หลังเปิดดอก การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 22.6 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวดดอกมากที่สุด 13 ดอกต่อช่อ และให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 75.25 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุดในสูตรที่ 1 วัสดุเพาะไม่หมักและไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 110 มิลลิเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุดในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 12 มิลลิเมตร ความยาวก้านดอก 15 เซนติเมตร ความหวาน 3.8 บริกซ์ หลังเปิดดอก การเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยและการให้ ผลผลิตของเห็ดนางรมฮังการี | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการี โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 6.55 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวนดอกมากที่สุด 30 ดอกต่อช่อ ให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 94.50 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 3 วัสดุเพาะหมักไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 31 เซนติเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 4 วัสดุเพาะไม่หมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 13.50 เซนติเมตร ความยาวก้านดอก 9.22 เซนติเมตร ความหวาน 1.67 บริกซ์ ในเวลา 2 เดือน การศึกษาผลของการเสริมน้ำหมักปลาต่อการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการี โดยการเสริมน้ำหมักปลาในสูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 6.55 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 30 วัน สูตรที่ 2 วัสดุเพาะหมักเติมน้ำหมักปลา ให้จำนวนดอกมากที่สุด 30 ดอกต่อช่อ ให้น้ำหนักมากที่สุดเฉลี่ย 94.50 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 3 วัสดุเพาะหมักไม่เติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 31 เซนติเมตร ความกว้างก้านดอกมากที่สุด ในสูตรที่ 4 วัสดุเพาะไม่หมักเติมน้ำหมักปลาอยู่ที่ 13.50 เซนติเมตร ความยาวก้านดอก 9.22 เซนติเมตร ความหวาน 1.67 บริกซ์ ในเวลา 2 เดือน ผลของน้ำมะพร้าวต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของน้ำมะพร้าวเพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติมน้ำมะพร้าวระดับความเข้มข้น 0, 50, 100, 150 และ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมน้ำมะพร้าว 200 มิลลิลิตรต่อลิตร มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวราก ของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด การศึกษาผลของน้ำมะพร้าวเพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติมน้ำมะพร้าวระดับความเข้มข้น 0, 50, 100, 150 และ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมน้ำมะพร้าว 200 มิลลิลิตรต่อลิตร มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวราก ของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด ผลของ PBZ และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ PBZ และ IAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านความสูงดีที่สุด และอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม PBZ ความเข้มข้น 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมทางด้านจานวนใบ จานวนกอ และจานวนยอดดีที่สุด สาหรับผลของการชักนาให้เกิดรากโดยย้ายเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนราก ความยาวรากดีที่สุด การศึกษาผลของ PBZ และ IAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านความสูงดีที่สุด และอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม PBZ ความเข้มข้น 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมทางด้านจานวนใบ จานวนกอ และจานวนยอดดีที่สุด สาหรับผลของการชักนาให้เกิดรากโดยย้ายเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนราก ความยาวรากดีที่สุด ผลของ TDZ, KN และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้แปรงสีฟัน | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสูตรอาหารสังเคราะห์ความเข้มข้น TDZ, KN และ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสูตรอาหารสังเคราะห์ความเข้มข้น TDZ, KN และ ผลของ PBZ ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ PBZ เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวรากของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด การศึกษาผลของ PBZ เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านน้ำทองในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนำส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม PBZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า การเพาะเลี้ยงว่านน้ำทองบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต PBZ มีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนใบ จำนวนราก และความยาวรากของต้นว่านน้ำทองมากที่สุด ผลของ BA KN และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของว่านสี่ทิศในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ BA KN และ NAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุม การเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านสี่ทิศในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนฐานหัวมาผ่าขนาด 0.5 เซนติเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 3 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 7.85 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 2.87 ใบต่อต้น สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตรที่ไม่เติม KN ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 3.64 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 1.00 ใบต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาหัวว่านสี่ทิศขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุดเฉลี่ย 16.33 รากต่อต้นราก เมื่อเปรียบเทียบกับสูตรอาหารที่ไม่เติม NAA ให้การชักนารากน้อยที่สุดเฉลี่ย 2.93 รากต่อต้น การศึกษาผลของ BA KN และ NAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุม การเจริญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของว่านสี่ทิศในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนฐานหัวมาผ่าขนาด 0.5 เซนติเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 3 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 7.85 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 2.87 ใบต่อต้น สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ระดับความเข้มข้น 0, 1, 2, 3 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตรที่ไม่เติม KN ให้ความสูงมากที่สุดเฉลี่ย 3.64 เซนติเมตร และมีจานวนใบเฉลี่ย 1.00 ใบต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาหัวว่านสี่ทิศขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุดเฉลี่ย 16.33 รากต่อต้นราก เมื่อเปรียบเทียบกับสูตรอาหารที่ไม่เติม NAA ให้การชักนารากน้อยที่สุดเฉลี่ย 2.93 รากต่อต้น ผลของ KN และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ KN และ NAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต KN ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนใบ จานวนราก จานวนกอ และอัตราการรอดชีวิตดีที่สุด แต่ในทางตรงข้ามอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม KN ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณทางด้านความสูง และจานวนยอดดีที่สุด สาหรับการชักนารากโดยใช้ยอดของโฮย่าจักรพรรดิมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนราก และความยาวรากดีที่สุด อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณทางด้านความสูงดีที่สุด การศึกษาผลของ KN และ NAA เพื่อให้ได้ระดับความเข้มข้นสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิในสภาพปลอดเชื้อ วางแผนการทดลองแบบCompletely Randomized Design (CRD) โดยนาส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้ความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต KN ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนใบ จานวนราก จานวนกอ และอัตราการรอดชีวิตดีที่สุด แต่ในทางตรงข้ามอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม KN ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณทางด้านความสูง และจานวนยอดดีที่สุด สาหรับการชักนารากโดยใช้ยอดของโฮย่าจักรพรรดิมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านจานวนราก และความยาวรากดีที่สุด อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณทางด้านความสูงดีที่สุด ผลของน้ามะพร้าว BA และ IBA ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้แปรงสีฟันในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
กำรศึกษำผลของน้ำมะพร้ำว BA และ IBA เพื่อให้ได้ควำมเข้มข้นที่เหมำะสมส้ำหรับกำรเจริญเติบโตของกล้วยไม้เอื องแปรงสีฟัน โดยน้ำโปรโตคอร์มของกล้วยไม้เอื องแปรงสีฟันขนำด 0.5 เซนติเมตร มำเพำะเลี ยงบนอำหำรสูตร ¼MS ที่เติม BA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.2, 0.4, 0.6 และ 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร เพำะเลี ยงภำยใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศำเซลเซียส เป็นระยะเวลำ 10 สัปดำห์ พบว่ำ สูตรอำหำรที่เติม BA ควำมเข้มข้น 0.2, 0.4 และ 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร มีอัตรำกำรรอดชีวิตมำกที่สุดเท่ำกับ 100 เปอร์เซ็นต์ อำหำรสูตร ¼MS ที่เติม BA ควำมเข้มข้น 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ควำมสูงเท่ำกับ 1.08 เซนติเมตร และอำหำรสูตร ¼MS ที่ไม่เติม BA ให้จ้ำนวนใบมำกที่สุด 13.50 ใบต่อต้น ส้ำหรับกำรชักน้ำรำกโดยน้ำต้นกล้ำของกล้วยไม้เอื องแปรงสีฟัน ขนำด 1 เซนติเมตร มำเพำะเลี ยงบนอำหำรสูตร MS ที่เติม IBA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ำ สูตรอำหำรที่เติม IBA ควำมเข้มข้น 0.25 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มี อัตรำกำรรอดชีวิตมำกที่สุดเฉลี่ย 87.50 เปอร์เซ็นต์ อำหำรสูตร MS ที่เติม IBA ควำมเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้ำนวนรำกมำกที่สุด 2.00 รำกต่อต้น
ผลของความเข้มข้นของสูตรอาหาร MS ต่อการเจริญเติบโตของเอื้องเงินในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาผลของความเข้มข้นของสูตรอาหาร MS ต่อการเจริญเติบโตของเอื้องเงินในสภาพปลอดเชื้อ บนอาหารสังเคราะห์ 5 สูตร วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 10 สิ่งทดลอง 4 ซ้้า ซ้้าละ 12 ต้น โดยเริ่มเก็บข้อมูลในเดือนที่ 1-4 เดือน หลังการเพาะเลี้ยง พบว่าการเจริญเติบโตทางด้านความสูงในเดือนที่ 1-4 มีความแตกต่างกันทางสถิติโดยอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติมน้้าตาล 30 กรัมต่อลิตร ผงวุ้น 8 กรัมต่อลิตร และปรับ pH เท่ากับ 5.7 สามารถชักน้าให้มีความสูงมากที่สุดเฉลี่ยเท่ากับ 1.42 เซนติเมตร อาหารสังเคราะห์สูตร 18MS เติมน้้าตาล 30 กรัมต่อลิตร ผงวุ้น 8 กรัมต่อลิตร และปรับ pH เท่ากับ 5.7 สามารถชักน้าให้เกิดจ้านวนใบมากที่สุดเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 ใบ อาหารสังเคราะห์สูตร 14MS เติมน้้าตาล 30 กรัมต่อลิตร ผงวุ้น 8 กรัมต่อลิตร และปรับ pH เท่ากับ 5.7 สามารถชักน้าให้มีจ้านวนรากมากที่สุดเฉลี่ยเท่ากับ 2.60 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญกับอาหารสังเคราะห์สูตรอื่น ๆ
ผลของดินขุยไผ่และปุ๋ยอินทรีย์ในกระถางเพาะต่อการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของเห็ดเยื่อไผ่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาผลของดินขุยไผ่และปุ๋ยอินทรีย์ในกระถางเพาะต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของเห็ดเยื่อไผ่ โดยมีอัตราส่วนของดินขุยไผ่และปุ๋ยหมัก ดังนี้ ดินขุยไผ่ 100 เปอร์เซ็นต์, ดินขุยไผ่ 75 เปอร์เซ็นต์ ผสมปุ๋ยหมัก 25 เปอร์เซ็นต์, ดินขุยไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ ผสมปุ๋ยหมัก 50 เปอร์เซ็นต์, ดินขุยไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ ผสมปุ๋ยหมัก 75 เปอร์เซ็นต์ และ ปุ๋ยหมัก 100 เปอร์เซ็นต์ พบว่า สูตรเพาะที่ 5 ปุ๋ยหมัก 100 เปอร์เซ็นต์ ใช้ระยะเวลาดอกบานเฉลี่ยน้อยที่สุด 14.00 วัน สูตรเพาะที่ 2 ดินขุยไผ่ 75 เปอร์เซ็นต์ ผสมปุ๋ยหมัก 25 เปอร์เซ็นต์ ให้น้ำหนักเฉลี่ย 58.90 กรัม ให้ความยาวก้านดอกเฉลี่ย 17.07 เซนติเมตร และให้ขนาดดอกฝ่อเฉลี่ย 11.87 เซนติเมตร สูตรเพาะที่ 1 ดินขุยไผ่ 100 เปอร์เซ็นต์ ให้ขนาดดอกที่เก็บวุ้นเฉลี่ย 47.88 เซนติเมตร ให้น้ำหนักวุ้นเฉลี่ย 17.00 กรัม และวัดขนาดดอกเห็ดเยื่อไผ่ 9 ครั้ง พบว่า มีขนาดกว้างมากที่สุดเฉลี่ย 55.34 เซนติเมตร
|