การเปรียบเทียบความหลากชนิดของแมลงและวัชพืชในนาข้าวแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดนครนายก อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความหลากชนิดของแมลงและวัชพืชในนาข้าวแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดนครนายก มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบชนิดของแมลงที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ และเพื่อเปรียบเทียบชนิดของวัชพืชที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ เป งานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบความหลากชนิดของแมลงและวัชพืชในนาข้าวแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ในจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดนครนายก มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบชนิดของแมลงที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ และเพื่อเปรียบเทียบชนิดของวัชพืชที่พบในนาข้าวที่ปลูกแบบดั้งเดิมและแบบอินทรีย์ เป การคัดแยกเชื้อราละลายฟอสเฟตจากแหล่งธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกเชื้อราในดินจากแหล่งธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตและเพื่อทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศ โดยทาการคัดเลือกเชื้อราในดินจาก 4 แหล่ง ได้แก่ ดินรอบต้นกล้วย ดินรอบต้นไผ่ ดินบริเวณที่มีใบไม้สะสม และดินจากแปลงนา สามารถแยกเชื้อราจากตัวอย่างดินได้ทั้งหมด 25 ไอโซเลท ทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในอาหาร Pikovskaya agar (PVK) โดยพิจารณาจากค่าดัชนีการละลายฟอสเฟต สามารถคัดเลือกไอโซเลทที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือ LEAF2 มีค่าเท่ากับ 2.22 รองลงมาคือ BA4, BA10 และ LEAF4 มีค่าเท่ากับ 2.16, 2.11 และ 2.07 ตามลาดับ และนาเชื้อที่ผ่านการคัดเลือกมาทดสอบผลต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์สีดา โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) ทาการทดลองทั้งหมด 5 ชุดทดลอง ชุดทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 6 ต้น พบว่าเชื้อ BA4 ทาให้ต้นกล้ามะเขือเทศมีการเจริญเติบโตดีที่สุดทั้งในด้านความสูงต้น คือ 45.33 เซนติเมตร ความยาวราก คือ 21.68 เซนติเมตร น้าหนักสดต้น คือ 25.08 เซนติเมตร น้าหนักแห้งต้น คือ 10.28 กรัม น้าหนักสดราก 7.27 กรัม และน้าหนักแห้งราก คือ 2.04 กรัม งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกเชื้อราในดินจากแหล่งธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตและเพื่อทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการละลายฟอสเฟตในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศ โดยทาการคัดเลือกเชื้อราในดินจาก 4 แหล่ง ได้แก่ ดินรอบต้นกล้วย ดินรอบต้นไผ่ ดินบริเวณที่มีใบไม้สะสม และดินจากแปลงนา สามารถแยกเชื้อราจากตัวอย่างดินได้ทั้งหมด 25 ไอโซเลท ทดสอบเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในอาหาร Pikovskaya agar (PVK) โดยพิจารณาจากค่าดัชนีการละลายฟอสเฟต สามารถคัดเลือกไอโซเลทที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือ LEAF2 มีค่าเท่ากับ 2.22 รองลงมาคือ BA4, BA10 และ LEAF4 มีค่าเท่ากับ 2.16, 2.11 และ 2.07 ตามลาดับ และนาเชื้อที่ผ่านการคัดเลือกมาทดสอบผลต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์สีดา โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) ทาการทดลองทั้งหมด 5 ชุดทดลอง ชุดทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 6 ต้น พบว่าเชื้อ BA4 ทาให้ต้นกล้ามะเขือเทศมีการเจริญเติบโตดีที่สุดทั้งในด้านความสูงต้น คือ 45.33 เซนติเมตร ความยาวราก คือ 21.68 เซนติเมตร น้าหนักสดต้น คือ 25.08 เซนติเมตร น้าหนักแห้งต้น คือ 10.28 กรัม น้าหนักสดราก 7.27 กรัม และน้าหนักแห้งราก คือ 2.04 กรัม การทดสอบการงอกของเมล็ดดอกผีเสื้อ 2 สายพันธุ์ในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดดอกผีเสื้อสายพันธุ์ Red Deep และ Pink Light ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติ 2) ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด 3) ตรวจสอบวันที่เมล็ดเริ่มงอก ทาการทดลองที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยเพาะเมล็ดดอกผีเสื้อทั้ง 2 สายพันธุ์บนวัสดุเพาะประกอบด้วยพีทมอส: ขุยมะพร้าว: ปุ๋ยหมักในสัดส่วน 1:1:0.5 มี 4 กรรมวิธี 4 ซ้า วางแผนการทดลองแบบ CRD เป็นเวลา 10 วัน ผลการทดลองพบว่า เมล็ดดอกผีเสื้อ Red Deep ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติมีเปอร์เซ็นต์งอก 100 % และ 84.6% (P<.05) และเริ่มงอกในวันที่ 4 และ 3 หลังเพาะตามลาดับ ส่วนเมล็ดดอกผีเสื้อ Pink Light มีอัตราการงอกใกล้เคียงกันคือ 93.2 % ในโรงเรือนบ่มและ 92.8% ในโรงเรือนปกติ และเริ่มงอกวันที่ 4 พร้อมกัน โรงเรือนทั้งสองมีอุณหภูมิช่วงเช้าใกล้เคียงกัน แต่ช่วงกลางวันโรงเรือนบ่มมีอุณหภูมิต่ากว่าโรงเรือนปกติ คือ 24.43 องศาเซลเซียส และ 26 องศาเซลเซียส ส่วนอุณหภูมิกลางคืนในโรงเรือนบ่มมีค่าสูงกว่าโรงเรือนปกติ คือ 19.64 องศาเซลเซียส และ 18.07 องศาเซลเซียสตามลาดับ และโรงเรือนทั้งสองมีความชื้นสัมพัทธ์เท่ากันในช่วงเช้าและกลางคืน คือ ร้อยละ 91.0 แต่ในช่วงกลางวัน โรงเรือนบ่มมีความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าโรงเรือนปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือร้อยละ 88.71 และ 75.71 การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดดอกผีเสื้อสายพันธุ์ Red Deep และ Pink Light ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติ 2) ศึกษาอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด 3) ตรวจสอบวันที่เมล็ดเริ่มงอก ทาการทดลองที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยเพาะเมล็ดดอกผีเสื้อทั้ง 2 สายพันธุ์บนวัสดุเพาะประกอบด้วยพีทมอส: ขุยมะพร้าว: ปุ๋ยหมักในสัดส่วน 1:1:0.5 มี 4 กรรมวิธี 4 ซ้า วางแผนการทดลองแบบ CRD เป็นเวลา 10 วัน ผลการทดลองพบว่า เมล็ดดอกผีเสื้อ Red Deep ที่เพาะในโรงเรือนบ่มและโรงเรือนปกติมีเปอร์เซ็นต์งอก 100 % และ 84.6% (P<.05) และเริ่มงอกในวันที่ 4 และ 3 หลังเพาะตามลาดับ ส่วนเมล็ดดอกผีเสื้อ Pink Light มีอัตราการงอกใกล้เคียงกันคือ 93.2 % ในโรงเรือนบ่มและ 92.8% ในโรงเรือนปกติ และเริ่มงอกวันที่ 4 พร้อมกัน โรงเรือนทั้งสองมีอุณหภูมิช่วงเช้าใกล้เคียงกัน แต่ช่วงกลางวันโรงเรือนบ่มมีอุณหภูมิต่ากว่าโรงเรือนปกติ คือ 24.43 องศาเซลเซียส และ 26 องศาเซลเซียส ส่วนอุณหภูมิกลางคืนในโรงเรือนบ่มมีค่าสูงกว่าโรงเรือนปกติ คือ 19.64 องศาเซลเซียส และ 18.07 องศาเซลเซียสตามลาดับ และโรงเรือนทั้งสองมีความชื้นสัมพัทธ์เท่ากันในช่วงเช้าและกลางคืน คือ ร้อยละ 91.0 แต่ในช่วงกลางวัน โรงเรือนบ่มมีความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าโรงเรือนปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือร้อยละ 88.71 และ 75.71 ผลของความร้อนต่อการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี2 | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลของอุณหภูมิและเวลาในการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 2) เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของต้นกล้าหลังการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 3) เพื่อวิเคราะห์วิธีการที่เหมาะสมในการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ด้วยความร้อน โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 4 ซ้า 6 กรรมวิธีคือ 1) การให้ความร้อนแก่เมล็ดโดยการตากแดดจัด 3-4 แดด (29 – 37 องศาเซลเซียส) 2) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 3) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง 4) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 5) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง และ 6) เมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว พบว่า การทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ที่ทดสอบในห้องปฏิบัติการและในโรงเรือนด้วยการอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง และ 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอก ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยการทดสอบในห้องปฏิบัติการอบที่เวลา 48 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอกมากกว่าการอบที่ 72 ชั่วโมง คือ เปอร์เซ็นต์ความงอก 67.00 และ 65.00 เปอร์เซ็นต์ และดัชนีการงอก 2.79 และ 2.71 ตามลาดับ สาหรับการทดสอบในโรงเรือน การอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส 48 ชั่วโมง ทาให้เมล็ดงอกน้อยกว่า แต่งอกได้เร็วกว่า (เปอร์เซ็นต์การงอก 99 % และ ดัชนีการงอก 1.76) เมื่อเปรียบเทียบกับการอบที่อุณหภูมิเดียวกัน แต่ใช้เวลา 72 ชั่วโมง (เปอร์เซ็นต์ความงอก 100% และดัชนีการงอก 1.70) สาหรับเมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว ทดสอบในห้องปฏิบัติการมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 48.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 2.00 และทดสอบในโรงเรือนทดลองมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 63.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 1.12 ตามลาดับ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลของอุณหภูมิและเวลาในการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 2) เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของต้นกล้าหลังการทาลายการพักตัวด้วยความร้อนในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง 3) เพื่อวิเคราะห์วิธีการที่เหมาะสมในการทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ด้วยความร้อน โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 4 ซ้า 6 กรรมวิธีคือ 1) การให้ความร้อนแก่เมล็ดโดยการตากแดดจัด 3-4 แดด (29 – 37 องศาเซลเซียส) 2) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 3) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 45 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง 4) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง 5) อบลมร้อนด้วยเครื่อง hot air oven 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง และ 6) เมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว พบว่า การทาลายการพักตัวของเมล็ดงาแดงอุบลราชธานี 2 ที่ทดสอบในห้องปฏิบัติการและในโรงเรือนด้วยการอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 48 ชั่วโมง และ 70 องศาเซลเซียส นาน 72 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอก ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยการทดสอบในห้องปฏิบัติการอบที่เวลา 48 ชั่วโมง ทาให้มีเปอร์เซ็นต์ความงอกและดัชนีการงอกมากกว่าการอบที่ 72 ชั่วโมง คือ เปอร์เซ็นต์ความงอก 67.00 และ 65.00 เปอร์เซ็นต์ และดัชนีการงอก 2.79 และ 2.71 ตามลาดับ สาหรับการทดสอบในโรงเรือน การอบลมร้อนที่ 70 องศาเซลเซียส 48 ชั่วโมง ทาให้เมล็ดงอกน้อยกว่า แต่งอกได้เร็วกว่า (เปอร์เซ็นต์การงอก 99 % และ ดัชนีการงอก 1.76) เมื่อเปรียบเทียบกับการอบที่อุณหภูมิเดียวกัน แต่ใช้เวลา 72 ชั่วโมง (เปอร์เซ็นต์ความงอก 100% และดัชนีการงอก 1.70) สาหรับเมล็ดที่ไม่ผ่านการทาลายการพักตัว ทดสอบในห้องปฏิบัติการมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 48.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 2.00 และทดสอบในโรงเรือนทดลองมีเปอร์เซ็นต์ความงอกอยู่ที่ 63.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอกอยู่ที่ 1.12 ตามลาดับ การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดที่ขยายพันธุ์โดยการเสียบยอดแบบเสียบลิ่มและแบบฝานบวบ (สหกิจศึกษา) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดที่ขยายพันธุ์โดยการเสียบยอดแบบเสียบลิ่มและแบบฝานบวบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบอัตราการรอดชีวิตต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีฝานบวบ 2) เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีการฝานบวบ โดยทาการทดลองที่โรงเรือนอะโวคาโด ศูนย์วิจัยเกษตรที่สูงเพชรบูรณ์ อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดที่ขยายพันธุ์โดยการเสียบยอดแบบเสียบลิ่มและแบบฝานบวบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบอัตราการรอดชีวิตต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีฝานบวบ 2) เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นอะโวคาโดหลังเสียบยอดด้วยวิธีเสียบลิ่มและวิธีการฝานบวบ โดยทาการทดลองที่โรงเรือนอะโวคาโด ศูนย์วิจัยเกษตรที่สูงเพชรบูรณ์ อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สภาวะที่เหมาะสมในการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบพืช | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานทดลองครั งนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบชนิดของใบพืช ปริมาณ และระยะเวลาบ่มที่สามารถเร่งการสุกของกล้วยน้าว้าเขียวได้ดีที่สุด โดยท้าการทดลองต่อเนื่อง 3 การทดลองได้แก่ การทดลองที่ 1 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองคือ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็กและใบกระถินอย่างละ 500 กรัม การทดลองที่ 2 ประกอบด้วย 4 ชุดทดลองได้แก่ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 800 และ 1000 กรัม และการทดลองที่ 3 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองได้แก่ บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัมเป็นเวลา 3 วัน 4 วัน และ 5 วัน พบว่า 1) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 3 วันท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าการใช้ใบกระถิน โดยมีความหวานมากที่สุดคือ 25.00 Brix 2) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม ท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าใบขี เหล็กปริมาณ 800 และ 1000 กรัม โดยผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.73 a* เท่ากับ -8.25 b* เท่ากับ +22.25 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวาน 22.44 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.70 (N/cm2) 3) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 5 วัน ผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.13 a* เท่ากับ -8.10 b เท่ากับ +23.20 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวานมากที่สุด คือ 23.66 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.66 (N/cm2) แต่ผู้บริโภคประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสให้คะแนนการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 4 วันมากกว่าชุดการทดลองอื่นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ งานทดลองครั งนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบชนิดของใบพืช ปริมาณ และระยะเวลาบ่มที่สามารถเร่งการสุกของกล้วยน้าว้าเขียวได้ดีที่สุด โดยท้าการทดลองต่อเนื่อง 3 การทดลองได้แก่ การทดลองที่ 1 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองคือ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็กและใบกระถินอย่างละ 500 กรัม การทดลองที่ 2 ประกอบด้วย 4 ชุดทดลองได้แก่ ไม่ใส่ใบพืช บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 800 และ 1000 กรัม และการทดลองที่ 3 ประกอบด้วย 3 ชุดทดลองได้แก่ บ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัมเป็นเวลา 3 วัน 4 วัน และ 5 วัน พบว่า 1) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 3 วันท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าการใช้ใบกระถิน โดยมีความหวานมากที่สุดคือ 25.00 Brix 2) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม ท้าให้กล้วยสุกได้ดีกว่าใบขี เหล็กปริมาณ 800 และ 1000 กรัม โดยผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.73 a* เท่ากับ -8.25 b* เท่ากับ +22.25 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวาน 22.44 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.70 (N/cm2) 3) การบ่มด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 5 วัน ผลกล้วยมีสีเปลือกเป็นค่า L* เท่ากับ 57.13 a* เท่ากับ -8.10 b เท่ากับ +23.20 (สีเขียวปนเหลืองอ่อน) มีค่าความหวานมากที่สุด คือ 23.66 Brix และมีความแน่นเนื อน้อยที่สุด คือ 2.66 (N/cm2) แต่ผู้บริโภคประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสให้คะแนนการบ่มกล้วยน้าว้าเขียวด้วยใบขี เหล็ก 500 กรัม เป็นเวลา 4 วันมากกว่าชุดการทดลองอื่นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์จากใบพืชที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อก่อโรคเหี่ยวของพริก | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดแยกเชื้อราจากใบพืชผักสมุนไพรชนิดต่างๆ และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราจากผิวพืชที่แยกได้ในการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อราก่อโรคในพริก โดยทาการแยกเชื้อราจากใบพืช 10 ชนิด ได้เชื้อราทั้งหมด 16 ไอโซเลทจากพืช 6 ชนิดได้แก่ กะเพรา สะระแหน่ มะละกอ ตะไคร้ มิ้นท์ และแมงลัก เมื่อนามาทดสอบการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อ Fusarium sp. ที่ก่อโรคเหี่ยวในพริก พบว่าเชื้อรารหัส SB5 สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคได้มากที่สุด คือ 83.0% รองลงมาคือเชื้อรารหัส B1 ยับยั้งเชื้อโรคได้ 75.60% ซึ่งเชื้อราทั้ง 2 ไอโซเลทนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเชื้อราอื่นที่เหลืออย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดแยกเชื้อราจากใบพืชผักสมุนไพรชนิดต่างๆ และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราจากผิวพืชที่แยกได้ในการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อราก่อโรคในพริก โดยทาการแยกเชื้อราจากใบพืช 10 ชนิด ได้เชื้อราทั้งหมด 16 ไอโซเลทจากพืช 6 ชนิดได้แก่ กะเพรา สะระแหน่ มะละกอ ตะไคร้ มิ้นท์ และแมงลัก เมื่อนามาทดสอบการเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อ Fusarium sp. ที่ก่อโรคเหี่ยวในพริก พบว่าเชื้อรารหัส SB5 สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคได้มากที่สุด คือ 83.0% รองลงมาคือเชื้อรารหัส B1 ยับยั้งเชื้อโรคได้ 75.60% ซึ่งเชื้อราทั้ง 2 ไอโซเลทนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเชื้อราอื่นที่เหลืออย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ การคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า (สหกิจศึกษา) | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของต้นและผลมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลผลิตของต้นมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 3) เพื่อคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า โครงการกรณีศึกษาเรื่อง การคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพของต้นและผลมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลผลิตของต้นมะคาเดเมียที่มีลักษณะกลายพันธุ์ 3) เพื่อคัดเลือกสายต้นมะคาเดเมียกลายพันธุ์ที่มีแนวโน้มในการพัฒนาเป็นพันธุ์การค้า ผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อ การเจริญเติบโตของไมโครกรีนไควาเระ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ไมโครกรีนคือต้นอ่อนผักที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ปัจจุบันมีผู้บริโภคผักไมโครกรีนในประเทศ ไทยและต่างประเทศเพิ่มขึ้นทุกปี ปัจจัยที่สำคัญในการผลิตไมโครกรีนไควาเระในถาดเพาะ ได้แก่ วัสดุ ปลูกที่เหมาะสม มีน้ำหนักเบาและธาตุอาหารเพียงพอต่อการเจริญเติบโต การทดลองนี้จึงมี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดไควาเระ 2) เพื่อศึกษาผลของ วัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนไควาเระ 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อ คุณภาพของผลผลิตไมโครกรีนไควาเระ ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1.1 2) ดิน ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1 4) ดิน ทำการเพาะ ไมโครกรีนไควาเระเป็นเวลา 10 วัน จากผลการทดลองพบว่า กรรมวิธี ดินขุย มะพร้าว (T2) และ ดิน+แกลบดำ+ขุยมะพร้าว (T3) มีผลทำให้ เปอร์เซ็นต์ความงอก 82.36 % และ 84.30 % ดัชนีการงอก 14.59 และ 17.80 ความยาวราก 8.19 เซนติเมตร/ต้น และ 6.65 เซนติเมตร/ ต้น น้ำหนักสดราก 0.045 กรัม/ต้น และ 0.043 กรัม/ต้น ความสูงต้น 9.30 เซนติเมตร/ต้น และ 10.66 เซนติเมตร/ต้น น้ำหนักสดต้น 0.341 กรัม/ต้น และ 0.312 กรัม/ต้น ปริมาณน้ำตาล 0.0125 เท่ากัน ปริมาณเส้นใย 0.823 % FW และ 0.779 % FW ตามล่าดับ ไมโครกรีนคือต้นอ่อนผักที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ปัจจุบันมีผู้บริโภคผักไมโครกรีนในประเทศ ไทยและต่างประเทศเพิ่มขึ้นทุกปี ปัจจัยที่สำคัญในการผลิตไมโครกรีนไควาเระในถาดเพาะ ได้แก่ วัสดุ ปลูกที่เหมาะสม มีน้ำหนักเบาและธาตุอาหารเพียงพอต่อการเจริญเติบโต การทดลองนี้จึงมี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดไควาเระ 2) เพื่อศึกษาผลของ วัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนไควาเระ 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อ คุณภาพของผลผลิตไมโครกรีนไควาเระ ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะ เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1.1 2) ดิน ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1 4) ดิน ทำการเพาะ ไมโครกรีนไควาเระเป็นเวลา 10 วัน จากผลการทดลองพบว่า กรรมวิธี ดินขุย มะพร้าว (T2) และ ดิน+แกลบดำ+ขุยมะพร้าว (T3) มีผลทำให้ เปอร์เซ็นต์ความงอก 82.36 % และ 84.30 % ดัชนีการงอก 14.59 และ 17.80 ความยาวราก 8.19 เซนติเมตร/ต้น และ 6.65 เซนติเมตร/ ต้น น้ำหนักสดราก 0.045 กรัม/ต้น และ 0.043 กรัม/ต้น ความสูงต้น 9.30 เซนติเมตร/ต้น และ 10.66 เซนติเมตร/ต้น น้ำหนักสดต้น 0.341 กรัม/ต้น และ 0.312 กรัม/ต้น ปริมาณน้ำตาล 0.0125 เท่ากัน ปริมาณเส้นใย 0.823 % FW และ 0.779 % FW ตามล่าดับ ผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนเบบี้คะน้า | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนเบบี้คะน้า มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดเบบี้คะน้า 2) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนเบบี้คะน้า 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อคุณภาพของผลผลิตของ ไมโครกรีนเบบี้คะน้า ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน 2) ดิน+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1 4) ดิน+ขุยมะพร้าว+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1:1 ทำการเพาะไมโครกรีนเบบี้คะน้าเป็นระยะเวลา 10 วัน ผลการทดลอง พบว่า กรรมวิธีที่ 2 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+ขุยมะพร้าว ทำให้ไมโครกรีนเบบี้คะน้ามีการเจริญเติบโตมากกว่าทั้ง 3 กรรมวิธี ได้แก่ เปอร์เซ็นต์ความงอก เท่ากับ 60.23 % ดัชนีการงอก เท่ากับ 24.10 ความยาวราก เท่ากับ 3.9 เซนติเมตรต่อต้น น้ำหนักสดราก เท่ากับ 0.0145 กรัมต่อต้น ปริมาณน้ำตาล เท่ากับ 0.054 องศาบริกซ์ต่อต้น และ พบว่า กรรมวิธีที่ 3 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+แกลบดำ ทำให้ไมโครกรีนเบบี้คะน้ามีน้ำหนักสดต้นดีที่สุด เท่ากับ 0.1425 กรัมต่อต้น และ กรรมวิธีที่ 1 วัสดุปลูกดิน ทำให้ไมโครกรีนมีการเจริญเติบโตทางด้านความสูงต้นมากที่สุด เท่ากับ 7.1 เซนติเมตรต่อต้น และ พบว่ากรรมวิธีที่ 4 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+ขุยมะพร้าว+แกลบดำ ทำให้ไมโครกรีน เบบี้คะน้ามีปริมาณเส้นใยมากที่สุด เท่ากับ 10.74 % FW ตามลำดับ การศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนเบบี้คะน้า มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดเบบี้คะน้า 2) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนเบบี้คะน้า 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อคุณภาพของผลผลิตของ ไมโครกรีนเบบี้คะน้า ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน 2) ดิน+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1 4) ดิน+ขุยมะพร้าว+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1:1 ทำการเพาะไมโครกรีนเบบี้คะน้าเป็นระยะเวลา 10 วัน ผลการทดลอง พบว่า กรรมวิธีที่ 2 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+ขุยมะพร้าว ทำให้ไมโครกรีนเบบี้คะน้ามีการเจริญเติบโตมากกว่าทั้ง 3 กรรมวิธี ได้แก่ เปอร์เซ็นต์ความงอก เท่ากับ 60.23 % ดัชนีการงอก เท่ากับ 24.10 ความยาวราก เท่ากับ 3.9 เซนติเมตรต่อต้น น้ำหนักสดราก เท่ากับ 0.0145 กรัมต่อต้น ปริมาณน้ำตาล เท่ากับ 0.054 องศาบริกซ์ต่อต้น และ พบว่า กรรมวิธีที่ 3 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+แกลบดำ ทำให้ไมโครกรีนเบบี้คะน้ามีน้ำหนักสดต้นดีที่สุด เท่ากับ 0.1425 กรัมต่อต้น และ กรรมวิธีที่ 1 วัสดุปลูกดิน ทำให้ไมโครกรีนมีการเจริญเติบโตทางด้านความสูงต้นมากที่สุด เท่ากับ 7.1 เซนติเมตรต่อต้น และ พบว่ากรรมวิธีที่ 4 วัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของดิน+ขุยมะพร้าว+แกลบดำ ทำให้ไมโครกรีน เบบี้คะน้ามีปริมาณเส้นใยมากที่สุด เท่ากับ 10.74 % FW ตามลำดับ การลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่าด้วยสารชีวภัณฑ์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่า ด้วยสารชีวภัณฑ์ที่ผลิตโดยสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยการเพาะต้นกล้าบนวัสดุปลูก ปุ๋ยหมัก ขุยมะพร้าว พีทมอส อัตราส่วน 1:1:1 เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ทาการออกแบบการทดลองแบบ CRD มี 5 กรรมวิธี 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 ไม่ฉีดพ่นสารเคมีและสารชีวภัณฑ์ กรรมวิธีที่ 2-5 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 2 รองก้นหลุมด้วย พีพี สเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ในสัปดาห์ที่ 2-4 ได้แก่ พีพีบี10 พีพี ไตรโคเดอร์มา พีพีบีเค33 ตามลาดับ และกรรมวิธีที่ 4 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และ ฉีดพ่นพีพีไตรโคเดอร์มาในสัปดาห์ที่ 4 เป็นกรรมวิธีที่มีเปอร์เซ็นต์การตายน้อยกว่ากรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ 0.32% และ 0.64 % ตามลาดับ ส่วนกรรมวิธีที่พบเปอร์เซ็นต์การตายมากที่สุดคือกรรมวิธีที่ 1 (7.37%) การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดเปอร์เซ็นต์การตายของต้นกล้ามะเขือเทศพันธุ์เชอรี่แดงจากโรครากเน่า ด้วยสารชีวภัณฑ์ที่ผลิตโดยสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ โดยการเพาะต้นกล้าบนวัสดุปลูก ปุ๋ยหมัก ขุยมะพร้าว พีทมอส อัตราส่วน 1:1:1 เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ทาการออกแบบการทดลองแบบ CRD มี 5 กรรมวิธี 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 ไม่ฉีดพ่นสารเคมีและสารชีวภัณฑ์ กรรมวิธีที่ 2-5 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 2 รองก้นหลุมด้วย พีพี สเตร็บโต และฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ในสัปดาห์ที่ 2-4 ได้แก่ พีพีบี10 พีพี ไตรโคเดอร์มา พีพีบีเค33 ตามลาดับ และกรรมวิธีที่ 4 รองก้นหลุมด้วยพีพีสเตร็บโต และ ฉีดพ่นพีพีไตรโคเดอร์มาในสัปดาห์ที่ 4 เป็นกรรมวิธีที่มีเปอร์เซ็นต์การตายน้อยกว่ากรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ 0.32% และ 0.64 % ตามลาดับ ส่วนกรรมวิธีที่พบเปอร์เซ็นต์การตายมากที่สุดคือกรรมวิธีที่ 1 (7.37%) ผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนโต้วเหมี่ยว | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดโต้วเหมี่ยว 2) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนโต้วเหมี่ยว 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อคุณภาพของผลผลิตไมโครกรีนโต้วเหมี่ยว ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1 2) ดิน+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1 4) ดิน ทำการเพาะไมโครกรีนโต้วเหมี่ยวเป็นเวลา 10 วัน จากผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 1 ดิน+แกลบดำ มีผลทำให้ เปอร์เซ็นต์ความงอก 54.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอก 45.22 น้ำหนักสดต้น 2.23 กรัมต่อต้น ความสูงต้น 10.27 เซนติเมตรต่อต้น กรรมวิธีที่ 2 ดิน+ขุยมะพร้าว มีผลทำให้ น้ำหนักสดราก 0.56 กรัมต่อต้น ความยาวราก 13.79 เซนติเมตรต่อต้น ปริมาณน้ำตาล 0.0354 องศาบริกซ์ต่อต้น และกรรมวิธีที่ 4 ดิน มีผลทำให้ ปริมาณเส้นใย 2.06 % FW ตามลำดับ การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการงอกของเมล็ดโต้วเหมี่ยว 2) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อการเจริญเติบโตของไมโครกรีนโต้วเหมี่ยว 3) เพื่อศึกษาผลของวัสดุปลูกต่างชนิดต่อคุณภาพของผลผลิตไมโครกรีนโต้วเหมี่ยว ทำการทดลอง ณ โรงเรือนปลูกพืชเศรษฐกิจ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2564 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 กรรมวิธีคือ 1) ดิน+แกลบดำ อัตราส่วน 1:1 2) ดิน+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1 3) ดิน+แกลบดำ+ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1:1:1 4) ดิน ทำการเพาะไมโครกรีนโต้วเหมี่ยวเป็นเวลา 10 วัน จากผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 1 ดิน+แกลบดำ มีผลทำให้ เปอร์เซ็นต์ความงอก 54.00 เปอร์เซ็นต์ ดัชนีการงอก 45.22 น้ำหนักสดต้น 2.23 กรัมต่อต้น ความสูงต้น 10.27 เซนติเมตรต่อต้น กรรมวิธีที่ 2 ดิน+ขุยมะพร้าว มีผลทำให้ น้ำหนักสดราก 0.56 กรัมต่อต้น ความยาวราก 13.79 เซนติเมตรต่อต้น ปริมาณน้ำตาล 0.0354 องศาบริกซ์ต่อต้น และกรรมวิธีที่ 4 ดิน มีผลทำให้ ปริมาณเส้นใย 2.06 % FW ตามลำดับ การเปรียบเทียบผลผลิต ไนโตรเจน และรายได้ของการปลูกพืชตระกูลถั่ว 3 ชนิดร่วมกับข้าวโพดฝักอ่อนพันธุ์เกษตรศาสตร์ 3 | อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมาพร เรืองสังข์ หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนและถั่ว ในระบบปลูกข้าวโพดฝักอ่อนร่วมกับถั่ว การสะสมไนโตรเจนในต้นข้าวโพดฝักอ่อนและถั่ว วิเคราะห์ปริมาณไนโตรเจนที่คืนสู่ดินเมื่อไถกลบหลังการเก็บเกี่ยว และประเมินรายได้จากการปลูกข้าวโพดฝักอ่อนร่วมกับถั่ว วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (Randomized Completely Blocks Design ; RCBD) มี 4 ชุดทดลอง 3 ซ้้า คือ การปลูกข้าวโพดฝักอ่อนเพียงอย่างเดียว และการปลูกข้าวโพดฝักอ่อนร่วมกับถั่วเขียว ถั่วเหลือง และถั่วลอด ผลการวิจัยพบว่า ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนไม่มีความแตกกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ โดยมีผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 1.07, 1.03, 0.88 และ 0.83 ตันต่อไร่ตามล้าดับ ในขณะที่ผลผลิตถั่วที่เก็บหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน 2 สัปดาห์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยถั่วลอดมีผลผลิตมากที่สุดคือ 23.70 กิโลกรัมต่อไร่ การสะสมไนโตรเจนสูงสุด 11.16 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.92 และหลังการเก็บเกี่ยวการไถกลบต้นข้าวโพดฝักอ่อนร่วมกับถั่วลอด จะคืนปุ๋ยไนโตรเจนสู่ดินสูงสุดปริมาณ 16.56 กิโลกรัมต่อไร่ ด้านการประเมินรายได้ พบว่าการปลูกข้าวโพดฝักอ่อนร่วมกับถั่วลอด ท้าให้เกษตรกรมีรายได้สูงสุดคือ 33,913.68 บาทต่อไร่ ซึ่งมีรายได้เพิ่มขึ้น 663.68 บาทต่อไร่
|