ผลการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อคุณภาพเปลือกไข่และคุณภาพภายในของไข่ อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพเปลือกไข่และคุณภาพภายในของไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 120 ตัว อายุ 79 สัปดาห์ ออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมกวาวเครือขาวในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มควบคุมไม่เสริมกวาวเครือขาว กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมกวาวเครือขาวในระดับ 50, 100 ppm ตามลำดับ ระยะเวลาการทดลอง 84 วัน พบว่าอัตราการไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่ (62.27-62.59 กรัม), เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว (65.56-66.24), เปอร์เซ็นต์ไข่แดง (25.13-25.27), เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ (9.32-9.58), ค่าความถ่วงจำเพาะ (1.087-1.089), ความหนาเปลือกไข่ (0.346-0.355 มิลลิเมตร), สีไข่แดง (13.91-14.00), ดัชนีไข่แดง (45.18-46.15) และค่าฮอฟ์ยูนิต (77.32-79.91) ตลอดการทดลอง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) แต่มีแนวโน้มว่าเปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ของกลุ่มที่เสริมกวาวเครือขาว 100 ppm จะมากกว่ากลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพเปลือกไข่และคุณภาพภายในของไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 120 ตัว อายุ 79 สัปดาห์ ออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมกวาวเครือขาวในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มควบคุมไม่เสริมกวาวเครือขาว กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมกวาวเครือขาวในระดับ 50, 100 ppm ตามลำดับ ระยะเวลาการทดลอง 84 วัน พบว่าอัตราการไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่ (62.27-62.59 กรัม), เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว (65.56-66.24), เปอร์เซ็นต์ไข่แดง (25.13-25.27), เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ (9.32-9.58), ค่าความถ่วงจำเพาะ (1.087-1.089), ความหนาเปลือกไข่ (0.346-0.355 มิลลิเมตร), สีไข่แดง (13.91-14.00), ดัชนีไข่แดง (45.18-46.15) และค่าฮอฟ์ยูนิต (77.32-79.91) ตลอดการทดลอง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) แต่มีแนวโน้มว่าเปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ของกลุ่มที่เสริมกวาวเครือขาว 100 ppm จะมากกว่ากลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ โดยวางแผน การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว ระยะเวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเซลล์ยีสต์ 5% กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมยีสต์เซลล์แตก 2% ผลการทดลองปรากฏว่า น้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมเซลล์ยีสต์ 5% มีน้ำหนักมากกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมยีสต์เซลล์แตก 2% เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ และค่าความถ่วงจำเพาะของกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติมีแนวโน้มจะมีค่าต่ำที่สุด และค่าฮอกยูนิต เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว ดัชนีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ และสีไข่แดง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ 5% ในอาหารจะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ โดยวางแผน การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว ระยะเวลาในการทดลอง 12 สัปดาห์ กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเซลล์ยีสต์ 5% กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมยีสต์เซลล์แตก 2% ผลการทดลองปรากฏว่า น้ำหนักไข่เฉลี่ยต่อฟอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมเซลล์ยีสต์ 5% มีน้ำหนักมากกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมยีสต์เซลล์แตก 2% เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ และค่าความถ่วงจำเพาะของกลุ่มที่ได้รับอาหารปกติมีแนวโน้มจะมีค่าต่ำที่สุด และค่าฮอกยูนิต เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว ดัชนีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ และสีไข่แดง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ 5% ในอาหารจะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ ผลการเสริมเปลือกมังคุดในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตไข่ของไก่ไข่ที่ได้รับอาหารเสริมเปลือกมังคุดที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งไก่ลูกผสมทางการค้าสายพันธุ์โรมันบราวน์อายุ 31 สัปดาห์ จำนวน 160 ตัว เป็น 4 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.1 % กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.3 % และกลุ่มที่ 4 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.5 % ระยะเวลาทดลอง 84 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กินต่อตัวต่อวัน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม น้ำหนักไข่ มวลไข่ อัตราการเลี้ยงรอด และจำนวนไข่แต่ละขนาด มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นสามารถเสริมเปลือกมังคุดในอาหารไก่ไข่ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตไข่ของไก่ไข่ที่ได้รับอาหารเสริมเปลือกมังคุดที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งไก่ลูกผสมทางการค้าสายพันธุ์โรมันบราวน์อายุ 31 สัปดาห์ จำนวน 160 ตัว เป็น 4 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.1 % กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.3 % และกลุ่มที่ 4 อาหารปกติเสริมเปลือกมังคุด 0.5 % ระยะเวลาทดลอง 84 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กินต่อตัวต่อวัน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม น้ำหนักไข่ มวลไข่ อัตราการเลี้ยงรอด และจำนวนไข่แต่ละขนาด มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นสามารถเสริมเปลือกมังคุดในอาหารไก่ไข่ได้โดยไม่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ การเสริมวิตามินดีและแคลเซียมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเสริมวิตามินดีและแคลเซียมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์จำนวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว ให้อาหารทดลองดังนี้ กลุ่มที่ 1 ให้อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมวิตามินดี 3000 IU ต่ออาหาร 1กิโลกรัม และ กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกหอย 1.5 เปอร์เซ็นต์ ระยะการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลางในแต่ละช่วงอายุและตลอดการทดลอง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)การทดลองในช่วงอายุ 85-88 สัปดาห์ พบว่า อัตราการไข่ สีไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ และไข่ขนาดเล็กแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05) ความหนาเปลือกไข่(P=0.09)และความถ่วงจำเพาะ(P=0.10)ในกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มดีกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ ช่วงอายุที่ 89-92 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงและดัชนีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) และช่วงอายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05)ผลการทดลองตลอดอายุการเลี้ยง(85-96สัปดาห์) พบว่า สีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและแคลเซียมมีสีไข่แดงเข้มกว่ากลุ่มที่ให้อาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มจะมีดัชนีไข่แดงมากกว่ากลุ่มอื่นๆและกลุ่มที่เสริมวิตามินดีมีแนวโน้มจะมีไข่ขนาดใหญ่พิเศษมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้นสามารถเสริมวิตามินดี และแคลเซียมในระดับที่ทดลองในอาหารไก่ระยะปลดไข่ได้โดยไม่มีผลเสียต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่และมีแนวโน้มจะช่วยปรับปรุงคุณภาพเปลือกไข่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเสริมวิตามินดีและแคลเซียมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์จำนวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว ให้อาหารทดลองดังนี้ กลุ่มที่ 1 ให้อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมวิตามินดี 3000 IU ต่ออาหาร 1กิโลกรัม และ กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมเปลือกหอย 1.5 เปอร์เซ็นต์ ระยะการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลางในแต่ละช่วงอายุและตลอดการทดลอง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)การทดลองในช่วงอายุ 85-88 สัปดาห์ พบว่า อัตราการไข่ สีไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ และไข่ขนาดเล็กแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05) ความหนาเปลือกไข่(P=0.09)และความถ่วงจำเพาะ(P=0.10)ในกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มดีกว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ ช่วงอายุที่ 89-92 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงและดัชนีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) และช่วงอายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่า สีไข่แดงแตกต่างกันทางสถิติ(P<0.05)ผลการทดลองตลอดอายุการเลี้ยง(85-96สัปดาห์) พบว่า สีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่เสริมวิตามินดีและแคลเซียมมีสีไข่แดงเข้มกว่ากลุ่มที่ให้อาหารปกติ และกลุ่มที่เสริมแคลเซียมมีแนวโน้มจะมีดัชนีไข่แดงมากกว่ากลุ่มอื่นๆและกลุ่มที่เสริมวิตามินดีมีแนวโน้มจะมีไข่ขนาดใหญ่พิเศษมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้นสามารถเสริมวิตามินดี และแคลเซียมในระดับที่ทดลองในอาหารไก่ระยะปลดไข่ได้โดยไม่มีผลเสียต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่และมีแนวโน้มจะช่วยปรับปรุงคุณภาพเปลือกไข่ ผลการเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การทดลองเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่เพื่อเป็นแหล่งสารเสริมต่อคุณภาพไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว 3 กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% และกลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% พบว่าค่าฮอกยูนิตของกลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมยีสต์สกัด มีความแตกต่างทางสถิติกับกลุ่มทดลองที่ได้รับกลุ่มทดลองที่ได้รับอาหารปกติและอาหารที่เสริมเบต้ากลูแคน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยมีค่าเท่ากับ 87.59, 84.58 และ 83.25ตามลำดับ แต่น้ำหนักไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ ดัชนีไข่แดง สีไข่แดง ความถ่วงจำเพาะ และความหนาเปลือกไข่ ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) การทดลองเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่เพื่อเป็นแหล่งสารเสริมต่อคุณภาพไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว 3 กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% และกลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% พบว่าค่าฮอกยูนิตของกลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมยีสต์สกัด มีความแตกต่างทางสถิติกับกลุ่มทดลองที่ได้รับกลุ่มทดลองที่ได้รับอาหารปกติและอาหารที่เสริมเบต้ากลูแคน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยมีค่าเท่ากับ 87.59, 84.58 และ 83.25ตามลำดับ แต่น้ำหนักไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่แดง เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ ดัชนีไข่แดง สีไข่แดง ความถ่วงจำเพาะ และความหนาเปลือกไข่ ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) การเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิล (Silybum marianum) ในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จานวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 8 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ทางการค้าที่เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเซิล 60 ppm และ 150 ppm พบว่า น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการไข่ อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจาเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง และขนาดไข่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) (P>0.05) (P>0.05) ในทุกช่วงอายุและตลอดการทดลอง แต่ที่อายุ 89-92 สัปดาห์พบว่า ดัชนีไข่แดง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) สีไข่แดง มีแนวโน้มจะแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.06) และที่อายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่าค่าความถ่วงจาเพาะ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นสามารถเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดระวาง โดยไม่มีผลเสีย ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จานวน 96 ตัว เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 8 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ทางการค้าที่เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ3 เสริมสารสกัดมิลค์ทิสเซิล 60 ppm และ 150 ppm พบว่า น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการใช้อาหาร อัตราการไข่ อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ฮอกยูนิต สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจาเพาะ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง และขนาดไข่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) (P>0.05) (P>0.05) ในทุกช่วงอายุและตลอดการทดลอง แต่ที่อายุ 89-92 สัปดาห์พบว่า ดัชนีไข่แดง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) สีไข่แดง มีแนวโน้มจะแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.06) และที่อายุ 93-96 สัปดาห์ พบว่าค่าความถ่วงจาเพาะ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นสามารถเสริมสารสกัดมิลค์ทิสเทิลในอาหารไก่ไข่ระยะปลดระวาง โดยไม่มีผลเสีย ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ ผลการเสริมยีสต์ในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมเซลล์ยีสต์และยีสต์เซลล์แตก เพื่อเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ใช้ไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 150 ตัว อายุ 28 สัปดาห์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ 3 เสริม เซลล์ยีสต์ 5% และ ยีสต์เซลล์แตก 2% ในอาหาร ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ พบว่าปริมาณอาหารที่กิน อัตราการไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการรอดชีวิต ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล ไข่ขนาดกลางและไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ประสิทธิภาพการใช้อาหารมีแนวโน้มจะมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.10) แต่น้ำหนักไข่ มวลไข่ และไข่ขนาดใหญ่ในกลุ่มที่ได้รับเซลล์ยีสต์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับยีสต์เซลล์แตก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ที่ระดับ 5% ในอาหารไก่ไข่จะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ มวลไข่ และจำนวนไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมเซลล์ยีสต์และยีสต์เซลล์แตก เพื่อเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ใช้ไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าจำนวน 150 ตัว อายุ 28 สัปดาห์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 และ 3 เสริม เซลล์ยีสต์ 5% และ ยีสต์เซลล์แตก 2% ในอาหาร ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ พบว่าปริมาณอาหารที่กิน อัตราการไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการรอดชีวิต ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล ไข่ขนาดกลางและไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ประสิทธิภาพการใช้อาหารมีแนวโน้มจะมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P=0.10) แต่น้ำหนักไข่ มวลไข่ และไข่ขนาดใหญ่ในกลุ่มที่ได้รับเซลล์ยีสต์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับยีสต์เซลล์แตก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นการเสริมเซลล์ยีสต์ที่ระดับ 5% ในอาหารไก่ไข่จะช่วยเพิ่มน้ำหนักไข่ มวลไข่ และจำนวนไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น ผลการเสริมยีสต์สกัดและเบต้ากลูแคนในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาผลการใช้ยีสต์สกัด และเบต้ากลูแคนเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% เก็บข้อมูล 6 ช่วง ช่วงละ 14 วัน พบว่าอัตราการไข่ น้ำหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง และไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการใช้ยีสต์สกัดในระดับ 0.25% และเบต้ากลูแคนในระดับ 0.05% เป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่จึงไม่มีผลเสียอย่างไรต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาผลการใช้ยีสต์สกัด และเบต้ากลูแคนเป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ ทำการทดลองในไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 28 สัปดาห์ จำนวน 150 ตัว แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารดังนี้ กลุ่มที่ 1 ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารปกติเสริมยีสต์สกัด 0.25% กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารปกติเสริมเบต้ากลูแคน 0.05% เก็บข้อมูล 6 ช่วง ช่วงละ 14 วัน พบว่าอัตราการไข่ น้ำหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม ปริมาณอาหารที่กินต่อผลผลิตไข่ 1 โหล น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง และไข่ขนาดเล็ก แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการใช้ยีสต์สกัดในระดับ 0.25% และเบต้ากลูแคนในระดับ 0.05% เป็นสารเสริมในอาหารไก่ไข่จึงไม่มีผลเสียอย่างไรต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ ผลของการเสริมกวาวเครือขาวในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ภายนอก | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ภายนอกของแม่ไก่ระยะปลดไข่ที่ได้รับอาหารเสริมกวาวเครือขาวที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 4 ซ้ำๆ ละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 120 ตัว กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 50 ppm และกลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 100 ppm เก็บข้อมูล 3 ช่วงๆ ละ 28 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า ผลผลิตไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่เฉลี่ย (62.27-62.59 กรัม), ปริมาณอาหารที่กิน (107.91-114.43 กรัม), ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม (2.29-2.48 ), น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง (0.18-0.48 กรัม), อัตราการรอดชีวิต (97.32-99.17%), ดัชนีรูปทรง (74.15-75.14%), ความหนาของเปลือกไข่ (0.345-0.347 มิลลิเมตร), ค่าสีเปลือกไข่ (L*)(83.10-85.05), (a*)(15.35-16.03), (b*)(39.46-41.41), และขนาดไข่ ซึ่งได้แก่ไข่ขนาดใหญ่ (72.81-81.57%), ขนาดกลาง (18.42-24.51%) และขนาดเล็ก (0.00-0.96%) ตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ภายนอกของแม่ไก่ระยะปลดไข่ที่ได้รับอาหารเสริมกวาวเครือขาวที่ระดับต่างๆ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่มๆ ละ 4 ซ้ำๆ ละ 10 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 120 ตัว กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 50 ppm และกลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมกวาวเครือขาว 100 ppm เก็บข้อมูล 3 ช่วงๆ ละ 28 วัน ผลการทดลองปรากฏว่า ผลผลิตไข่ (70.15-77.98%), น้ำหนักไข่เฉลี่ย (62.27-62.59 กรัม), ปริมาณอาหารที่กิน (107.91-114.43 กรัม), ปริมาณอาหารที่กินต่อน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม (2.29-2.48 ), น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง (0.18-0.48 กรัม), อัตราการรอดชีวิต (97.32-99.17%), ดัชนีรูปทรง (74.15-75.14%), ความหนาของเปลือกไข่ (0.345-0.347 มิลลิเมตร), ค่าสีเปลือกไข่ (L*)(83.10-85.05), (a*)(15.35-16.03), (b*)(39.46-41.41), และขนาดไข่ ซึ่งได้แก่ไข่ขนาดใหญ่ (72.81-81.57%), ขนาดกลาง (18.42-24.51%) และขนาดเล็ก (0.00-0.96%) ตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) การเสริมเปลือกหอยในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เปลือกหอยนางรมป่นเป็นแหล่งแคลเซียมเสริมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้า พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 80 ตัว ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมเปลือกหอยป่นในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ (กลุ่มควบคุม;ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.3 %) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกหอยนางรมป่น (ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.7%) ระยะเวลาการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูล 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ น้ำหนักไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ดัชนีรูปทรงไข่ ดัชนีไข่แดง เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจำเพาะ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ในช่วงการทดลองที่ 1 พบว่าปริมาณอาหารที่กิน (102.03กรัม, 109.38 กรัม) และอัตราการให้ผลผลิตไข่ (67.67%, 81.51%) ในกลุ่มที่ 1 และ 2 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ช่วงการทดลองที่ 2 พบว่าอัตราการให้ผลผลิตไข่ (73.09%, 81.33%) ของกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มมากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.08) อัตราการให้ผลผลิตไข่ (70.14%, 80.41%) และค่า Haugh unit (79.90, 76.23) ช่วงตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ขนาดไข่ในกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มว่าจะมีไข่ขนาดใหญ่มากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.09) ดังนั้นการเสริมเปลือกหอยเพื่อเป็นแหล่งแคลเซียมในอาหารไก่ระยะปลดไข่ให้ได้ในระดับ 3.7 % จะช่วยเพิ่มอัตราการให้ไข่และอาจทำให้ได้ไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เปลือกหอยนางรมป่นเป็นแหล่งแคลเซียมเสริมในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด แบ่งไก่ไข่ลูกผสมทางการค้า พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 79 สัปดาห์ จำนวน 80 ตัว ออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ให้อาหารไก่ไข่ที่เสริมเปลือกหอยป่นในระดับต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ (กลุ่มควบคุม;ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.3 %) กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมเปลือกหอยนางรมป่น (ระดับแคลเซียมในอาหาร 3.7%) ระยะเวลาการทดลอง 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูล 3 ช่วง ช่วงละ 4 สัปดาห์ พบว่า สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ น้ำหนักไข่ น้ำหนักตัวที่เปลี่ยนแปลง อัตราการเลี้ยงรอด ดัชนีรูปทรงไข่ ดัชนีไข่แดง เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ความถ่วงจำเพาะ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ในช่วงการทดลองที่ 1 พบว่าปริมาณอาหารที่กิน (102.03กรัม, 109.38 กรัม) และอัตราการให้ผลผลิตไข่ (67.67%, 81.51%) ในกลุ่มที่ 1 และ 2 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ช่วงการทดลองที่ 2 พบว่าอัตราการให้ผลผลิตไข่ (73.09%, 81.33%) ของกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มมากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.08) อัตราการให้ผลผลิตไข่ (70.14%, 80.41%) และค่า Haugh unit (79.90, 76.23) ช่วงตลอดการทดลอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ขนาดไข่ในกลุ่มที่ 2 มีแนวโน้มว่าจะมีไข่ขนาดใหญ่มากกว่ากลุ่มที่ 1 (P=0.09) ดังนั้นการเสริมเปลือกหอยเพื่อเป็นแหล่งแคลเซียมในอาหารไก่ระยะปลดไข่ให้ได้ในระดับ 3.7 % จะช่วยเพิ่มอัตราการให้ไข่และอาจทำให้ได้ไข่ขนาดใหญ่มากขึ้น ผลการเสริมสังกะสีอินทรีย์และซีลีเนียมอินทรีย์ ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเสริมสังกะสีอินทรีย์ 40 ส่วนในล้านส่วนกับการเสริมซีลีเนียมอินทรีย์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design, CRD) โดยทดลองในไก่ไข่พันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 35 สัปดาห์ จำนวน 120 ตัว แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว ดังนี้ 1. กลุ่มที่ได้รับอาหารปกติ (กลุ่มควบคุม) 2. กลุ่มที่ได้รับอาหารปกติเสริมสังกะสีอินทรีย์ 40 ส่วนในล้านส่วน 3. กลุ่มที่ได้รับอาหารปกติเสริมซีลีเนียมอินทรีย์ 0.05 ส่วนในล้านส่วน แบ่งการเก็บข้อมูลออกเป็น 3 ช่วงๆ ละ 4 สัปดาห์
ผลการทดลอง พบว่า มีความเข้มของสีไข่แดงเท่ากับ 12.32 , 12.32 และ 12.42 ความหนาของเปลือกไข่เท่ากับ 0.342 , 0.342 และ 0.340 ความสูงของไข่ขาวเท่ากับ 6.82 , 7.06 และ 7.17 ค่าความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 1.091 , 1.090 และ 1.089 ค่าฮอกยูนิตเท่ากับ 81.93 , 85.05 และ 84.83 ในกลุ่มที่ 1,2 และ 3 ตามลำดับ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้น การเสริมแร่ธาตุอินทรีย์ทั้ง 2 ชนิด ในระดับที่ทดลองจึงไม่ได้ช่วยในการปรับปรุงคุณภาพไข่
การเสริมกากชากับเอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
วัตถุประสงค์ของการทดลอง เพื่อศึกษาคุณภาพของไข่จากแม่ไก่ที่ได้รับอาหารเสริมกากชาร่วมกับเอนไซม์ย่อยเยื่อใย โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่มๆละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว เป็นไก่ไข่พันธุ์ไฮแซก อายุ 52 สัปดาห์ จำนวน 96 ตัว ระยะเวลาทดลอง 56 วัน กลุ่มที่ 1 อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมกากชา 1% กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมกากชา 1% ร่วมกับเอนไซม์ไฟเตส 100 IU เอนไซม์ไซลาเนส 1600 IU , และ เอนไซม์เซลลูเลส 10 IU ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ศึกษาคุณภาพไข่โดยวัดสีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ค่าความถ่วงจำเพาะ ค่าฮอกยูนิต ผลการทดลองปรากฏว่า สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ ค่าฮอกยูนิต และค่าความถ่วงจำเพาะของทุกกลุ่มแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05)
การเสริมวิตามินซีและวิตามินดีในอาหารไก่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีน้อย ชุ่มคำ หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเสริมวิตามินซีและวิตามินดีในอาหารไก่ไข่ระยะปลดไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด โดยทดลองไก่ไข่ลูกผสมทางการค้าพันธุ์โรมันบราวน์ อายุ 85 สัปดาห์ จำนวน 96 ตัว และแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 8 ตัว กลุ่มที่ 1 ให้อาหารปกติ กลุ่มที่ 2 อาหารปกติเสริมวิตามินซี 0.03 % กลุ่มที่ 3 อาหารปกติเสริมวิตามินดี 0.015 % ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห์ ผลการทดลองอายุ 85-88 สัปดาห์ 89-92 สัปดาห์ และ 93-96 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ค่าฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ สีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง ไข่ขนาดเล็ก ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) แต่ไข่ขนาดใหญ่พิเศษและค่าดัชนีไข่แดง มีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) ผลการทดลองในไก่ไข่อายุ 84-96 สัปดาห์ พบว่า น้ำหนักไข่ อัตราการไข่ ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเลี้ยงรอด มวลไข่ ค่าฮอกยูนิต ความถ่วงจำเพาะ ดัชนีไข่แดง ความหนาเปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์เปลือกไข่ เปอร์เซ็นต์ไข่ขาว เปอร์เซ็นต์ไข่แดง ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ ไข่ขนาดใหญ่ ไข่ขนาดกลาง ไข่ขนาดเล็ก ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) แต่สีไข่แดง มีความแตกต่างสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับวิตามินดีจะมีสีไข่แดงเข้มที่สุด และมีไข่ขนาดใหญ่พิเศษมากกว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้น การเสริมวิตามินดี 0.015% และวิตามินซี 0.03% ในอาหารแม่ไก่ระยะปลดไข่ จะช่วยปรับปรุงสมรรถภาพการผลิตไข่ และคุณภาพไข่บางประการ
|