การออกแบบจัดสวนทนแล้งพื้นที่หน้าป้ายทางเข้าโชว์รูมรถ กอริลล่าคาร์ แกลลอรี่ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ธวัชชัย มูลตลาด หลักสูตร : สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ การออกแบบจัดสวนทนแล้งพื้นที่หน้าป้ายทางเข้าโชว์รูมรถกอริลล่าคาร์ แกลลอรี่ ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมนวนคร เลขที่ 53/35 หมู่ 13 ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี มีพื้นที่จัดสวนประมาณ 15 ตารางเมตร ลักษณะพื้นที่ดินเดิมมีวัชพืชปกคลุมทั่วทั้งพื้นที่ สภาพแวดล้อมมีความเสื่อมโทรม เจ้าของโครงการมีแนวคิดที่จะปรับปรุงพื้นที่ดังกล่าวให้เป็นจุดดึงดูดและเกิดความสวยงามต่อลูกค้าที่มาใช้บริการ โดยเจ้าของโครงการมีความต้องการสวนหย่อมที่ดูแลรักษาง่าย เน้นพืชทนทานต่อสภาพการขาดน้า เน้นการให้น้าแก่พืชน้อยที่สุด จึงมีการออกแบบสวนเป็นลักษณะสวนทนแล้ง มีการใช้พืชกลุ่มกระบองเพชและไม้อวบน้า หินประดับและหินกรวด ประดับตกแต่งเป็นหลัก โดยเริ่มดาเนินการ วันที่ 1 กรกฏาคม 2567 – 10 กรกฏาคม 2567 จึงจัดสวนเสร็จเรียบร้อย ทั้งนี้ได้ทาการประเมินผลความพึงพอใจ โดยแยกเป็นความพึงพอใจด้านรูปทรงและตาแหน่งทางเดิน ได้คะแนน 4 (ระดับดีมาก) ด้านวัสดุตกแต่งสวน ได้คะแนน 3.78 (ระดับดี) ด้านชนิดและตาแหน่งต้นไม้ ได้คะแนน 3.78 (ระดับดี) ด้านความกลมกลืนและความสวยงามของต้นไม้ ได้คะแนน 4 (ระดับดีมาก) ด้านประโยชน์ความสวยงามเมื่อเทียบกับมูลค่าใช้สอย ได้คะแนน 3.89 (ระดับดี) สรุปโดยภาพรวมความพึงพอใจ ได้คะแนนรวม 3.89 อยู่ในระดับดี ซึ่งการออกแบบจัดสวนครั้งนี้ได้บรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ การออกแบบจัดสวนทนแล้งพื้นที่หน้าป้ายทางเข้าโชว์รูมรถกอริลล่าคาร์ แกลลอรี่ ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมนวนคร เลขที่ 53/35 หมู่ 13 ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี มีพื้นที่จัดสวนประมาณ 15 ตารางเมตร ลักษณะพื้นที่ดินเดิมมีวัชพืชปกคลุมทั่วทั้งพื้นที่ สภาพแวดล้อมมีความเสื่อมโทรม เจ้าของโครงการมีแนวคิดที่จะปรับปรุงพื้นที่ดังกล่าวให้เป็นจุดดึงดูดและเกิดความสวยงามต่อลูกค้าที่มาใช้บริการ โดยเจ้าของโครงการมีความต้องการสวนหย่อมที่ดูแลรักษาง่าย เน้นพืชทนทานต่อสภาพการขาดน้า เน้นการให้น้าแก่พืชน้อยที่สุด จึงมีการออกแบบสวนเป็นลักษณะสวนทนแล้ง มีการใช้พืชกลุ่มกระบองเพชและไม้อวบน้า หินประดับและหินกรวด ประดับตกแต่งเป็นหลัก โดยเริ่มดาเนินการ วันที่ 1 กรกฏาคม 2567 – 10 กรกฏาคม 2567 จึงจัดสวนเสร็จเรียบร้อย ทั้งนี้ได้ทาการประเมินผลความพึงพอใจ โดยแยกเป็นความพึงพอใจด้านรูปทรงและตาแหน่งทางเดิน ได้คะแนน 4 (ระดับดีมาก) ด้านวัสดุตกแต่งสวน ได้คะแนน 3.78 (ระดับดี) ด้านชนิดและตาแหน่งต้นไม้ ได้คะแนน 3.78 (ระดับดี) ด้านความกลมกลืนและความสวยงามของต้นไม้ ได้คะแนน 4 (ระดับดีมาก) ด้านประโยชน์ความสวยงามเมื่อเทียบกับมูลค่าใช้สอย ได้คะแนน 3.89 (ระดับดี) สรุปโดยภาพรวมความพึงพอใจ ได้คะแนนรวม 3.89 อยู่ในระดับดี ซึ่งการออกแบบจัดสวนครั้งนี้ได้บรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ การสำรวจและการจัดทำผังพรรณไม้ระดับสูงบริเวณสวนเรือนไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ธวัชชัย มูลตลาด หลักสูตร : สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์
การสารวจและการจัดทาผังพรรณไม้ระดับสูงบริเวณสวนเรือนไทยในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ตั้งแต่ธันวาคม 2564 ถึงมีนาคม 2565 โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อทาการสารวจพรรณไม้ระดับสูงบริเวณสวนเรือนไทย ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2. เพื่อการจาแนกประเภทพรรณไม้ตามหลักในงานภูมิสถาปัตยกรรม และ 3. เพื่อนาข้อมูลจากการสารวจจัดทาผังตาแหน่งพรรณไม้ระดับสูง โดยมีการบันทึกข้อมูลทางพฤกษศาสตร์
ของพรรณไม้ บันทึกข้อมูลขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลาต้นด้วยหน่วยวัดเป็นนิ้ว นาผลข้อมูลจากการสารวจ มาตรวจสอบกับเอกสารทางวิชาการ เพื่อจาแนกชนิดพรรณไม้และจัดทาผังตาแหน่งพรรณไม้ระดับสูง ด้วยโปรแกรมเขียนแบบทางคอมพิวเตอร์ ผลการสารวจพบว่า สวนบริเวณเรือนไทยในมหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี พบพรรณไม้ระดับสูงทั้งหมด 41 ชนิด 37 สกุล จาก 23 วงศ์ รวมจานวนทั้งสิ้น 184 ต้น ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการสารวจและการจัดทาผัง พรรณไม้ระดับสูง สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลทางวิชาการเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาและใช้ในงาน ภูมิสถาปัตยกรรมของมหาวิทยาลัยในลาดับต่อไป
|