ผลของ BA KN และ TDZ ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สกุลหวายในหลอดทดลอง อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากการศึกษาผลของ BA KN และ TDZ ในสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้ด่างในสภาพปลอดเชื้อ โดยนาส่วนใบมาสับขนาด 1-2 มิลลิเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส หลังจากทาการย้ายเลี้ยง เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการเกิดใบด่างเท่ากับ 41.66 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่สูตรอาหาร MS เติม BA ระดับความเข้มข้น 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร มีอัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 91.66 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5, 1 และ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุด เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 66.66 เปอร์เซ็นต์ ในทางตรงข้าม สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ จากการศึกษาผลของ BA KN และ TDZ ในสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้ด่างในสภาพปลอดเชื้อ โดยนาส่วนใบมาสับขนาด 1-2 มิลลิเมตร เพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายความเข้มแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส หลังจากทาการย้ายเลี้ยง เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการเกิดใบด่างเท่ากับ 41.66 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่สูตรอาหาร MS เติม BA ระดับความเข้มข้น 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร มีอัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 91.66 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS ที่เติม KN ที่ระดับความเข้มข้น 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สูตรอาหาร MS เติม KN ระดับความเข้มข้น 0.5, 1 และ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุด เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ สาหรับสูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการเกิดใบด่างมากที่สุดเท่ากับ 66.66 เปอร์เซ็นต์ ในทางตรงข้าม สูตรอาหาร MS เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ ผลของหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกหนุ่มขาว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลของหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกหนุ่มขาว โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ (randomized completely block design) 4 ทรีทเมนต์ (ปริมาตรหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า) ทรีทเมนต์ ละ 10 ตัวอย่าง คือ ไม่ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า (ชุดควบคุม) ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 30 60 และ 90 มิลลิลิตรต่อต้น พร้อมการย้ายต้นกล้าพริกอายุ 22 และ 50 วัน บันทึกข้อมูลทุกๆ 2 สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 120 วันหลังการเพาะเมล็ด พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมีแนวโน้มท้าให้ต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 วัน มีกิ่งแขนงที่มากขึ้น วันออกดอกที่เร็วขึ้น และท้าให้จ้านวนผลของต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 และ 50 วัน มีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ นอกจากนี้การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่ากับต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 50 วัน พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าปริมาตร 30 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีความสูงมากที่สุดเท่ากับ 68.70 เซนติเมตร และการใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 60 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีค่าเฉลี่ยจ้านวนใบ น้้าหนักสดและน้้าหนักแห้งของทั้งต้น และเฉพาะส่วนรากสูงที่สุดเท่ากับ 173.00 ใบ 149.00 กรัมน้้าหนักสดทั้งต้น 22.29 กรัมน้้าหนักแห้งทั้งต้น 13.97 กรัมน้้าหนักสดเฉพาะส่วนราก และ 2.03 กรัมน้้าหนักแห้งเฉพาะส่วนราก ตามล้าดับ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลของหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกหนุ่มขาว โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ (randomized completely block design) 4 ทรีทเมนต์ (ปริมาตรหัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า) ทรีทเมนต์ ละ 10 ตัวอย่าง คือ ไม่ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่า (ชุดควบคุม) ใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 30 60 และ 90 มิลลิลิตรต่อต้น พร้อมการย้ายต้นกล้าพริกอายุ 22 และ 50 วัน บันทึกข้อมูลทุกๆ 2 สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 120 วันหลังการเพาะเมล็ด พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตรที่เพิ่มขึ้นมีแนวโน้มท้าให้ต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 วัน มีกิ่งแขนงที่มากขึ้น วันออกดอกที่เร็วขึ้น และท้าให้จ้านวนผลของต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 22 และ 50 วัน มีจ้านวนเพิ่มมากขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ นอกจากนี้การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่ากับต้นพริกที่ย้ายกล้าปลูกอายุ 50 วัน พบว่า การใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าปริมาตร 30 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีความสูงมากที่สุดเท่ากับ 68.70 เซนติเมตร และการใส่หัวเชื้อชนิดน้้าเห็ดตับเต่าในปริมาตร 60 มิลลิลิตรต่อต้น ท้าให้ต้นพริกมีค่าเฉลี่ยจ้านวนใบ น้้าหนักสดและน้้าหนักแห้งของทั้งต้น และเฉพาะส่วนรากสูงที่สุดเท่ากับ 173.00 ใบ 149.00 กรัมน้้าหนักสดทั้งต้น 22.29 กรัมน้้าหนักแห้งทั้งต้น 13.97 กรัมน้้าหนักสดเฉพาะส่วนราก และ 2.03 กรัมน้้าหนักแห้งเฉพาะส่วนราก ตามล้าดับ ผลของหัวเชื้อชนิดน้ำเห็ดตับเต่าต่อการเจริญเติบโตของพริกขี้หนูสวน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช - - ผลของ BA และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้ตอติเล ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของ BA และ IAA เพื่อให้ได้ความเข้มข้นที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโต ของกล้วยไม้ตอติเล โดยนาโปรโตคอร์มไลท์บอดี้ขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุด 0.85 เซนติเมตร และ 11.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 1 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวน รากมากที่สุด 6.91 รากต่อต้น หากระดับความเข้มข้นของ IAA มากกว่า 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลทาให้การชักนารากลดน้อยลงเนื่องจากเกิดการสร้างแคลลัส การศึกษาผลของ BA และ IAA เพื่อให้ได้ความเข้มข้นที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโต ของกล้วยไม้ตอติเล โดยนาโปรโตคอร์มไลท์บอดี้ขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุด 0.85 เซนติเมตร และ 11.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 1 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวน รากมากที่สุด 6.91 รากต่อต้น หากระดับความเข้มข้นของ IAA มากกว่า 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลทาให้การชักนารากลดน้อยลงเนื่องจากเกิดการสร้างแคลลัส ผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยเลี้ยงเชื้อเห็ดบนก้อนอาหารที่มีส่วนผสมของใบกระถิน 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ก้อนอาหารสูตรที่ 2 ขี้เลื่อยผสมของใบกระถิน 5 เปอร์เซ็นต์ ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 18.19 เซนติเมตร หลังจากการเพาะเป็นเวลา 31 วัน ในเวลา 3 เดือน ให้ผลผลิตรวม 13 ครั้ง โดยให้จานวนดอกมากสุดเฉลี่ย 5.12 ดอกต่อครั้ง และให้น้าหนักมากสุดเฉลี่ย 47.70 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากสุดในสูตรที่ 1 ขี้เลื่อย 100 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 6.93 เซนติเมตร ความยาวก้านมากสุดในสูตรที่ 3 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 10 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 10.84 เซนติเมตร ความกว้างก้านมากสุดในสูตรที่ 5 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 20 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 1.81 เซนติเมตร การศึกษาผลของใบกระถินในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการให้ผลผลิตของเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยเลี้ยงเชื้อเห็ดบนก้อนอาหารที่มีส่วนผสมของใบกระถิน 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอร์เซ็นต์ พบว่า ก้อนอาหารสูตรที่ 2 ขี้เลื่อยผสมของใบกระถิน 5 เปอร์เซ็นต์ ให้การเจริญของเส้นใยดีที่สุด 18.19 เซนติเมตร หลังจากการเพาะเป็นเวลา 31 วัน ในเวลา 3 เดือน ให้ผลผลิตรวม 13 ครั้ง โดยให้จานวนดอกมากสุดเฉลี่ย 5.12 ดอกต่อครั้ง และให้น้าหนักมากสุดเฉลี่ย 47.70 กรัมต่อช่อ ความกว้างดอกมากสุดในสูตรที่ 1 ขี้เลื่อย 100 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 6.93 เซนติเมตร ความยาวก้านมากสุดในสูตรที่ 3 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 10 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 10.84 เซนติเมตร ความกว้างก้านมากสุดในสูตรที่ 5 ขี้เลื่อยผสมใบกระถิน 20 เปอร์เซ็นต์ เฉลี่ย 1.81 เซนติเมตร ผลของ BA และ IAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิ ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากการศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิ พบว่าอัตราการรอดชีวิต ความสูง จานวนใบ จานวนยอด และจานวนรากของข้อโฮย่าจักรพรรดิ โดยการนาชิ้นส่วนข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 50 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง จานวนใบ และจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 2.88 เซนติเมตร 7.91 ใบต่อต้น และ 1.91 รากต่อต้น ตามลาดับ เมื่อนายอดของต้นโฮย่าจักรพรรดิมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 และ 0.75 ให้อัตราการรอดชีวิต และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 91.7 เปอร์เซ็นต์ และ 6.83 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง จานวนราก และจานวนยอดมากที่สุดเท่ากับ 4.01 เซนติเมตร 5.00 รากต่อต้น 2.25 ยอดต่อต้น ตามลาดับ จากการศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นโฮย่าจักรพรรดิ พบว่าอัตราการรอดชีวิต ความสูง จานวนใบ จานวนยอด และจานวนรากของข้อโฮย่าจักรพรรดิ โดยการนาชิ้นส่วนข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่ไม่เติม BA ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 50 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง จานวนใบ และจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 2.88 เซนติเมตร 7.91 ใบต่อต้น และ 1.91 รากต่อต้น ตามลาดับ เมื่อนายอดของต้นโฮย่าจักรพรรดิมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม IAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 และ 0.75 ให้อัตราการรอดชีวิต และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 91.7 เปอร์เซ็นต์ และ 6.83 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูง จานวนราก และจานวนยอดมากที่สุดเท่ากับ 4.01 เซนติเมตร 5.00 รากต่อต้น 2.25 ยอดต่อต้น ตามลาดับ ผลของ TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ตอติเล ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโปรโตคอร์มกล้วยไม้ตอติเล ทางด้านความสูง จานวนใบ จานวนราก และอัตราการรอดชีวิต โดยนาโปรโตคอร์มในระยะมีใบจริง 1 คู่ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม TDZ ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS เติม TDZ ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 81.24 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.88 เซนติเมตร และ 7.25 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้จานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 1.91 รากต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 95.83 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.90 เซนติเมตร และ 7.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้มีจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 4.66 รากต่อต้น การศึกษาอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโปรโตคอร์มกล้วยไม้ตอติเล ทางด้านความสูง จานวนใบ จานวนราก และอัตราการรอดชีวิต โดยนาโปรโตคอร์มในระยะมีใบจริง 1 คู่ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม TDZ ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้ช่วงแสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS เติม TDZ ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 81.24 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.88 เซนติเมตร และ 7.25 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้จานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 1.91 รากต่อต้น สาหรับการชักนารากโดยนาต้นกล้าของกล้วยไม้ตอติเลขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตมากที่สุดเท่ากับ 95.83 เปอร์เซ็นต์ ให้ความสูง และจานวนใบมากที่สุดเท่ากับ 0.90 เซนติเมตร และ 7.00 ใบต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้มีจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 4.66 รากต่อต้น ผลของ TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิ ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิ โดยนาชิ้นส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร วางเลี้ยงที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมให้เกิดยอดเฉลี่ย 3.33 ยอดต่อต้น ให้ใบมากที่สุด 19.33 ใบต่อต้น เมื่อย้ายเลี้ยงยอดที่มี 1 ข้อใบ ยาว 1 เซนติเมตร บนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเปอร์เซ็นต์การเกิดแคลลัสเฉลี่ย 95.83 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตทางด้านความสูง 3.57 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุด 3.16 รากต่อต้น การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของโฮย่าจักรพรรดิ โดยนาชิ้นส่วนข้อมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร วางเลี้ยงที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งเสริมให้เกิดยอดเฉลี่ย 3.33 ยอดต่อต้น ให้ใบมากที่สุด 19.33 ใบต่อต้น เมื่อย้ายเลี้ยงยอดที่มี 1 ข้อใบ ยาว 1 เซนติเมตร บนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเปอร์เซ็นต์การเกิดแคลลัสเฉลี่ย 95.83 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตทางด้านความสูง 3.57 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากมากที่สุด 3.16 รากต่อต้น ผลของ BA และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้าทองในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนใบ จ้านวนข้อ ความยาวต้น และจ้านวนรากของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร ข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตร ให้อัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม BA เข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบ และข้อมากที่สุด 3.33 ใบต่อต้น และ 3.91 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนรากจ้านวนใบ ความยาวข้อความยาวยอด และจ้านวนข้อของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดข้อที่ 1 ขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0. 5 และ 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตรมีอัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม NAA เข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนราก และข้อมากที่สุด 3.92 รากต่อต้นราก และ 5.83 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนใบ จ้านวนข้อ ความยาวต้น และจ้านวนรากของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร ข้อที่ 2 และ 3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตร ให้อัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม BA เข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบ และข้อมากที่สุด 3.33 ใบต่อต้น และ 3.91 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่ออัตราการเจริญเติบโตทางด้านจ้านวนรากจ้านวนใบ ความยาวข้อความยาวยอด และจ้านวนข้อของกล้วยไม้ว่านน้าทองโดยน้าชิ นส่วนยอดข้อที่ 1 ขนาดประมาณ 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี ยงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS เติม NAA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.25, 0. 5 และ 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสังเคราะห์ทุกสูตรมีอัตราการรอดชีวิต 100 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม NAA เข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนราก และข้อมากที่สุด 3.92 รากต่อต้นราก และ 5.83 ข้อต่อต้น ตามล้าดับ ผลของ TDZ และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของว่านน้าทองในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตทางด้านล้าต้นของกล้วยไม้ ว่านลายน้าทอง โดยน้าชิ นส่วนข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม TDZ ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้ความสูงมากที่สุด 2.67 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.25 ข้อต่อต้น และสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.66 ใบต่อต้น และให้จ้านวนรากมากที่สุด 2.84 รากต่อต้น ตามล้าดับ ส้าหรับการเจริญเติบโตทางด้านราก เมื่อน้าข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุด 4.74 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.16 ข้อต่อต้น และให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.41 ใบต่อต้น และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากมากที่สุด 1.77 รากต่อต้น ตามล้าดับ การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตทางด้านล้าต้นของกล้วยไม้ ว่านลายน้าทอง โดยน้าชิ นส่วนข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม TDZ ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่ไม่เติม TDZ ให้ความสูงมากที่สุด 2.67 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.25 ข้อต่อต้น และสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.66 ใบต่อต้น และให้จ้านวนรากมากที่สุด 2.84 รากต่อต้น ตามล้าดับ ส้าหรับการเจริญเติบโตทางด้านราก เมื่อน้าข้อที่ 2-3 มาเพาะเลี ยงบนอาหารสูตร MS เติม IAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า ในทุกสูตรอาหารมีอัตราการรอดชีวิตมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุด 4.74 เซนติเมตร สูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนข้อมากที่สุด 4.16 ข้อต่อต้น และให้จ้านวนใบมากที่สุด 3.41 ใบต่อต้น และสูตร MS ที่เติม IAA ความเข้มข้น 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากมากที่สุด 1.77 รากต่อต้น ตามล้าดับ ผลของสูตรอาหารสังเคราะห์ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สามปอยหลวง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากการศึกษาผลของสูตรอาหารสังเคราะห์ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สามปอยหลวง โดยนาโปรโตคอร์มระยะมีใบจริง 1 คู่ เพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส บนอาหารแข็ง 4 สูตร ที่ดัดแปลงจากสูตรอาหาร Vacin and Went (VW) เติมน้าตาล 20 กรัมต่อลิตร โดยสูตรที่ 1 VW เติมสารอินทรีย์จาก stock solution ของสูตรอาหาร Murashige and Skoog (MS) เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร และ NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร สูตรที่ 2 VW เติม Ca และสารอินทรีย์จาก stock solution ของสูตรอาหาร MS เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร สูตรที่ 3 VW เติม Ca และสารอินทรีย์จาก stock solution ของสูตรอาหาร MS และกล้วยหอมบด 100 กรัมต่อลิตร สูตรที่ 4 VW เติมกล้วยหอมบด 100 กรัมต่อลิตร และน้ามะพร้าว 100 มิลลิลิตรต่อลิตร พบว่า เมื่อเพาะเลี้ยงเป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ อาหารสูตรที่ 2 ให้อัตราการรอดชีวิตสูงสุด 85 เปอร์เซ็นต์ ในขณะอาหารสูตรที่ 3 ให้ความสูงมากที่สุด 0.92 เซนติเมตร เมื่อเพาะเลี้ยง เป็นระยะเวลา 22 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตรที่ 2 ให้อัตราการรอดชีวิตสูงสุด 82.50 เปอร์เซ็นต์ อาหารสูตรที่ 1 ให้อัตราการเกิดโปรโตคอร์มสูงสุด 42.50 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อาหารสูตรที่ 3 ให้ความสูง จานวนใบ การแตกกอ และจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 2.44 เซนติเมตร 3.62 ใบต่อต้น 7.1 ต้นต่อกอ และ 3.25 รากต่อต้น ตามลาดับ ดังนั้น อาหารสูตรที่ 3 จึงมีความเหมาะสมมากที่สุดในการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สามปอยหลวง ในการศึกษาการชักนารากของเอื้องสามปอยหลวง บนอาหารสังเคราะห์ 5 สูตร โดยใน สัปดาห์ที่ 8 สูตรอาหารสังเคราะห์ที่ 1 VW ที่ไม่เติม NAA และสูตรอาหารสังเคราะห์ที่ 3 VW ที่เติม NAA เข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความสูงมากที่สุดเท่ากับ 1.40 เซนติเมตรต่อต้น ในด้านจานวนใบอาหารสังเคราะที่ 5 VW ที่เติม NAA เข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีจานวนใบสูงที่สุดเท่ากับ 3.33 ใบต่อต้น และสามารถชักนาให้เกิดรากได้มากที่สุดเท่ากับ 6.50 รากต่อต้น จากการศึกษาผลของสูตรอาหารสังเคราะห์ต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สามปอยหลวง โดยนาโปรโตคอร์มระยะมีใบจริง 1 คู่ เพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส บนอาหารแข็ง 4 สูตร ที่ดัดแปลงจากสูตรอาหาร Vacin and Went (VW) เติมน้าตาล 20 กรัมต่อลิตร โดยสูตรที่ 1 VW เติมสารอินทรีย์จาก stock solution ของสูตรอาหาร Murashige and Skoog (MS) เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร และ NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร สูตรที่ 2 VW เติม Ca และสารอินทรีย์จาก stock solution ของสูตรอาหาร MS เติม BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร สูตรที่ 3 VW เติม Ca และสารอินทรีย์จาก stock solution ของสูตรอาหาร MS และกล้วยหอมบด 100 กรัมต่อลิตร สูตรที่ 4 VW เติมกล้วยหอมบด 100 กรัมต่อลิตร และน้ามะพร้าว 100 มิลลิลิตรต่อลิตร พบว่า เมื่อเพาะเลี้ยงเป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ อาหารสูตรที่ 2 ให้อัตราการรอดชีวิตสูงสุด 85 เปอร์เซ็นต์ ในขณะอาหารสูตรที่ 3 ให้ความสูงมากที่สุด 0.92 เซนติเมตร เมื่อเพาะเลี้ยง เป็นระยะเวลา 22 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตรที่ 2 ให้อัตราการรอดชีวิตสูงสุด 82.50 เปอร์เซ็นต์ อาหารสูตรที่ 1 ให้อัตราการเกิดโปรโตคอร์มสูงสุด 42.50 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อาหารสูตรที่ 3 ให้ความสูง จานวนใบ การแตกกอ และจานวนรากมากที่สุดเท่ากับ 2.44 เซนติเมตร 3.62 ใบต่อต้น 7.1 ต้นต่อกอ และ 3.25 รากต่อต้น ตามลาดับ ดังนั้น อาหารสูตรที่ 3 จึงมีความเหมาะสมมากที่สุดในการเจริญเติบโตของกล้วยไม้สามปอยหลวง ในการศึกษาการชักนารากของเอื้องสามปอยหลวง บนอาหารสังเคราะห์ 5 สูตร โดยใน สัปดาห์ที่ 8 สูตรอาหารสังเคราะห์ที่ 1 VW ที่ไม่เติม NAA และสูตรอาหารสังเคราะห์ที่ 3 VW ที่เติม NAA เข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความสูงมากที่สุดเท่ากับ 1.40 เซนติเมตรต่อต้น ในด้านจานวนใบอาหารสังเคราะที่ 5 VW ที่เติม NAA เข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีจานวนใบสูงที่สุดเท่ากับ 3.33 ใบต่อต้น และสามารถชักนาให้เกิดรากได้มากที่สุดเท่ากับ 6.50 รากต่อต้น ผลของน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญและผลผลิตของข้าวเหนียวดำพันธุ์หอมภูเขียว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ในการศึกษาผลของน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญและผลผลิตของข้าวเหนียวดำพันธุ์หอม ภูเขียว โดยใช้น้ำหมักชีวภาพความเข้มข้นปุ๋ยต่อน้ำเท่ากับ 1:500 ใน 5 ระดับ คือ 0, 5, 10, 15 และ 20 มิลลิลิตรต่อกระถางทุกๆ สัปดาห์ และเก็บข้อมูลทุกสัปดาห์ พบว่า Treatment ที่ดีที่สุด คือ Treatment 5 (20 มิลลิลิตร) ให้ต้นข้าวมีความสูง 100.06 เซนติเมตร จำนวนกอต่อต้น 12 กอ และ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น 1.60 เซนติเมตร หลังการปลูกเป็นเวลา 13 สัปดาห์ แสดงให้เห็นว่า น้ำหมักชีวภาพมีการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวเหนียวดำพันธุ์หอม ภูเขียวทั้งด้านความสูง จำนวนกอต่อต้น และ เส้นผ่าศูนย์กลางสูงที่สุด ข้าวมีการออกรวงแต่ไม่สามารถติดเมล็ดได้ เนื่องจากในช่วงที่ปลูกมีความแปรปรวนของสภาพอากาศสูงโดยเฉพาะอุณหภูมิที่มีค่าสูงกว่า 40 องศาเซลเซียล ในการศึกษาผลของน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญและผลผลิตของข้าวเหนียวดำพันธุ์หอม ภูเขียว โดยใช้น้ำหมักชีวภาพความเข้มข้นปุ๋ยต่อน้ำเท่ากับ 1:500 ใน 5 ระดับ คือ 0, 5, 10, 15 และ 20 มิลลิลิตรต่อกระถางทุกๆ สัปดาห์ และเก็บข้อมูลทุกสัปดาห์ พบว่า Treatment ที่ดีที่สุด คือ Treatment 5 (20 มิลลิลิตร) ให้ต้นข้าวมีความสูง 100.06 เซนติเมตร จำนวนกอต่อต้น 12 กอ และ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น 1.60 เซนติเมตร หลังการปลูกเป็นเวลา 13 สัปดาห์ แสดงให้เห็นว่า น้ำหมักชีวภาพมีการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวเหนียวดำพันธุ์หอม ภูเขียวทั้งด้านความสูง จำนวนกอต่อต้น และ เส้นผ่าศูนย์กลางสูงที่สุด ข้าวมีการออกรวงแต่ไม่สามารถติดเมล็ดได้ เนื่องจากในช่วงที่ปลูกมีความแปรปรวนของสภาพอากาศสูงโดยเฉพาะอุณหภูมิที่มีค่าสูงกว่า 40 องศาเซลเซียล ศึกษาผลของกากอ้อยในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดหิมาลัย | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของกากอ้อยในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดหิมาลัย โดยนำเชื้อเห็ดหิมาลัยเลี้ยงบนก้อนอาหารที่มีส่วนผสมของกากอ้อยที่แตกต่างกัน จำนวน 5 Treatmentประกอบด้วย Treatment 1 ขี้เลื่อย 100 เปอร์เซ็นต์Treatment 2 กากอ้อย 5 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 95 เปอร์เซ็นต์Treatment 3 กากอ้อย 10 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 90 เปอร์เซ็นต์Treatment4 กากอ้อย 15 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 85 เปอร์เซ็นต์ และ Treatment5 กากอ้อย 20 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 80 เปอร์เซ็นต์ ทำTreatment ละ 5 ซ้ำเก็บข้อมูลหลังจากหยอดเชื้อเป็นเวลา 7 วัน และเก็บข้อมูลในครั้งต่อๆ ไปทุก 4 วัน เป็นจำนวน 11 ครั้ง พบว่า Treatment ที่ดีที่สุด คือ Treatment1 และ 2 มีการเจริญของเส้นใย 13 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 31 วัน ในขณะที่ Treatment3, 4 และ 5 มีการเจริญของเส้นใย 14.00, 13.56 และ 13.24 เซนติเมตรหลังจากเพาะเป็นเวลา 43, 47 และ 47 วัน ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่า สามารถนำกากอ้อยมาใช้เป็นส่วนผสมทดแทนขี้เลื้อยได้ที่ 5 เปอร์เซ็นต์ การศึกษาผลของกากอ้อยในวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดหิมาลัย โดยนำเชื้อเห็ดหิมาลัยเลี้ยงบนก้อนอาหารที่มีส่วนผสมของกากอ้อยที่แตกต่างกัน จำนวน 5 Treatmentประกอบด้วย Treatment 1 ขี้เลื่อย 100 เปอร์เซ็นต์Treatment 2 กากอ้อย 5 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 95 เปอร์เซ็นต์Treatment 3 กากอ้อย 10 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 90 เปอร์เซ็นต์Treatment4 กากอ้อย 15 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 85 เปอร์เซ็นต์ และ Treatment5 กากอ้อย 20 เปอร์เซ็นต์ และ ขี้เลื่อย 80 เปอร์เซ็นต์ ทำTreatment ละ 5 ซ้ำเก็บข้อมูลหลังจากหยอดเชื้อเป็นเวลา 7 วัน และเก็บข้อมูลในครั้งต่อๆ ไปทุก 4 วัน เป็นจำนวน 11 ครั้ง พบว่า Treatment ที่ดีที่สุด คือ Treatment1 และ 2 มีการเจริญของเส้นใย 13 เซนติเมตร หลังจากเพาะเป็นเวลา 31 วัน ในขณะที่ Treatment3, 4 และ 5 มีการเจริญของเส้นใย 14.00, 13.56 และ 13.24 เซนติเมตรหลังจากเพาะเป็นเวลา 43, 47 และ 47 วัน ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่า สามารถนำกากอ้อยมาใช้เป็นส่วนผสมทดแทนขี้เลื้อยได้ที่ 5 เปอร์เซ็นต์ สูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้เหลืองจันทบูร | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้เหลืองจันทบูร โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD จำนวน 4 สิ่งทดลอง ประกอบไปด้วยอาหารสังเคราะห์ 4 สูตร กระทำสูตรละ 6 ซ้ำ โดยเก็บข้อมูลระหว่างสัปดาห์ที่ 5-12 หลังทำการเพาะเลี้ยง พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตรที่ 3 มีอัตราการรอดชีวิตถึง 98.50 เปอร์เซ็นต์ และมีการเพิ่มขนาดของโปรโตคอร์มดีที่สุด คือ 0.99 เซนติเมตร ในขณะที่สูตรที่ 2, 4 และ 1 มีอัตราการรอดชีวิตถึง 91.50, 98.50 และ 88.75 เปอร์เซ็นต์ และมีการเจริญของโปรโตคอร์มเท่ากับ 0.94, 0.91 และ 0.84 เซนติเมตร ตามลำดับ ส่วนในการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบ ความสูง และ จำนวนราก พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตรที่ 2 มีการเจริญเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบ ความสูง และ จำนวนรากดีที่สุด คือ 3.28 ใบ, 1.36 เซนติเมตร และ 0.97 ราก ตามลำดับ ภายหลังจากการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 12 สัปดาห์ แม้ว่าการเจริญเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบจะไม่ได้สูงที่สุดแต่ก็มีจำนวนรากสูงที่สุด ซึ่งเป็นผลดีต่อการอนุบาลปลูก โดยสูตรที่ 4, 1 และ 3 มีการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบเท่ากับ 3.55, 3.38 และ 3.03 ใบ ในการเจริญเติบโตทางด้านความสูงเท่ากับ 0.99, 0.97 และ 1.00 เซนติเมตร และในการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนรากเท่ากับ 0.77, 0.57 และ 0.74 ราก ตามลำดับ การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้เหลืองจันทบูร โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD จำนวน 4 สิ่งทดลอง ประกอบไปด้วยอาหารสังเคราะห์ 4 สูตร กระทำสูตรละ 6 ซ้ำ โดยเก็บข้อมูลระหว่างสัปดาห์ที่ 5-12 หลังทำการเพาะเลี้ยง พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตรที่ 3 มีอัตราการรอดชีวิตถึง 98.50 เปอร์เซ็นต์ และมีการเพิ่มขนาดของโปรโตคอร์มดีที่สุด คือ 0.99 เซนติเมตร ในขณะที่สูตรที่ 2, 4 และ 1 มีอัตราการรอดชีวิตถึง 91.50, 98.50 และ 88.75 เปอร์เซ็นต์ และมีการเจริญของโปรโตคอร์มเท่ากับ 0.94, 0.91 และ 0.84 เซนติเมตร ตามลำดับ ส่วนในการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบ ความสูง และ จำนวนราก พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตรที่ 2 มีการเจริญเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบ ความสูง และ จำนวนรากดีที่สุด คือ 3.28 ใบ, 1.36 เซนติเมตร และ 0.97 ราก ตามลำดับ ภายหลังจากการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 12 สัปดาห์ แม้ว่าการเจริญเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบจะไม่ได้สูงที่สุดแต่ก็มีจำนวนรากสูงที่สุด ซึ่งเป็นผลดีต่อการอนุบาลปลูก โดยสูตรที่ 4, 1 และ 3 มีการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบเท่ากับ 3.55, 3.38 และ 3.03 ใบ ในการเจริญเติบโตทางด้านความสูงเท่ากับ 0.99, 0.97 และ 1.00 เซนติเมตร และในการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนรากเท่ากับ 0.77, 0.57 และ 0.74 ราก ตามลำดับ ผลของ BA และ NAA ต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วยไม้เขาแพะ ในหลอดทดลอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาผลของ BA และ NAA เพื่อให้ได้ความเข้มข้นที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโต ของกล้วยไม้เขาแพะ โดยนำโปรโตคอร์มขนาด 0.5 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพาะเลี้ยงภายใต้แสง 1,000 ลักซ์ ที่อุณหภูมิ 26 ± 2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร จำนวนใบมากที่สุด 7.25 ใบต่อต้น และอาหารสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความสูงมากที่สุด 0.91 เซนติเมตร สำหรับการชักนำรากโดยนำต้นกล้าของกล้วยไม้เขาแพะขนาด 1 เซนติเมตร มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ที่ระดับเข้มข้น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.25 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จำนวนรากมากที่สุด 3.08 รากต่อต้น ระดับความเข้มข้นของ NAAที่ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลทำให้เกิดการสร้างแคลลัสมากที่สุดเฉลี่ย 83 เปอร์เซ็นต์ และมีอัตราการรอดชีวิตมากที่สุด 100 เปอร์เซ็นต์
สูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ช้างแดง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ช้างแดง โดยนาโปรโตคอร์มระยะมีใบจริง 1 คู่ เพาะเลี้ยงบนอาหารแข็ง 4 สูตร ที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า โปรโตคอร์มที่วางเลี้ยงบนอาหารสูตร VW เติม stock ของ MS (Ca และ สารอินทรีย์) ร่วมกับกล้วย 100 กรัมต่อลิตร และ น้าตาล 20 กรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตสูงสุด 100 เปอร์เซ็นต์ อาหารสูตร VW เติม stock ของ MS (สารอินทรีย์) ร่วมกับ Ca3(PO4)2 ปริมาณ 0.2 กรัมต่อลิตร น้าตาล 20 กรัมต่อลิตร BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร และ NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งผลให้มีความสูงมากที่สุด 1.27 เซนติเมตร หลังจากเพาะเลี้ยงเป็นระยะเวลา 20 สัปดาห์ พบว่า โปรโตคอร์มที่วางเลี้ยงบนอาหารสูตร VW เติม stock ของ MS (Ca และ สารอินทรีย์) ร่วมกับกล้วย 100 กรัมต่อลิตร และ น้าตาล 20 กรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตสูงสุด 100 เปอร์เซ็นต์ มีอัตราการเกิดโปรโตคอร์มเฉลี่ย 20 เปอร์เซ็นต์ และมีความสูงมากที่สุด 1.35 เซนติเมตร อาหารสูตร VW เติม Ca3(PO4)2 ปริมาณ 0.2 กรัมต่อลิตร น้ามะพร้าว 150 มิลลิลิตรต่อลิตร กล้วย 100 กรัมต่อลิตร และ น้าตาล 20 กรัมต่อลิตร ส่งผลให้มีการสร้างต้นอ่อนมากที่สุด 1.50 ต้น อาหารสูตร VW เติม stock ของ MS (สารอินทรีย์) ร่วมกับ Ca3(PO4)2 ปริมาณ 0.2 กรัมต่อลิตร น้าตาล 20 กรัมต่อลิตร BA ความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร และ NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งผลให้มีจานวนใบและรากมากที่สุด 3.75 ใบต่อต้น และ 3.25 รากต่อต้น ตามลาดับ หลังย้ายเลี้ยงต้นกล้าลงบนสูตรอาหารชักนารากต่างๆ พบว่า ต้นกล้าที่วางเลี้ยงบนอาหารสูตร VW เติม น้าตาล 20 กรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้มข้น 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้อัตราการรอดชีวิตสูงสุด 100 เปอร์เซ็นต์ อาหารสูตร VW เติม น้าตาล 20 กรัมต่อลิตร ส่งผลให้มีความสูงและจานวนรากมากที่สุด 1.98 เซนติเมตร และ 3.66 รากต่อต้น ตามลาดับ อาหารสูตร VW เติมน้าตาล 20 กรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งผลให้มีจานวนใบมากที่สุด 3.00 ใบต่อต้น
ผลของปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของข้าวไรซ์เบอรี่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาผลของปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของข้าวไรซ์เบอรี่โดยการใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพต่อน้ำเท่ากับ 1 : 500 มิลลิลิตร ในปุ๋ย 4 ระดับ คือ ใส่ 0 5 10 และ 15 มิลลิลิตร ต่อกระถาง ทุกๆ 7 วัน เป็นเวลา 9 สัปดาห์ และเก็บข้อมูลทุกๆ สัปดาห์ พบว่า ด้านความสูง Treatment 4 ทำให้มีการเจริญเติบโตของต้นข้าวสูงที่สุด คือ 109.95 เซนติเมตร จำนวนกอ พบว่า Treatment 4 ส่งผลให้จำนวนกอมากที่สุด คือ 47.75 กอ และเส้นผ่านศูนย์กลาง พบว่า Treatment 4 มีเส้นผ่านศูนย์ยาวที่สุดคือ 1.22 เซนติเมตร หลังจากย้ายกล้าลงกระถางเป็นเวลา 9 สัปดาห์ สำหรับการออกรวงและติดเมล็ด พบว่า มีการออกรวงแต่ไม่มีการติดเมล็ด ดังนั้น จึงควรงดการให้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ในช่วงสัปดาห์ที่ 4-5 เนื่องจากปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพมีผลด้านการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านลำต้นเท่านั้น
ผลของปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรี | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาผลของปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรีโดยการใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพต่อน้ำเท่ากับ 1 : 500 มิลลิลิตร ในปุ๋ย 4 ระดับ คือ ใส่ 0 5 10 และ 15 มิลลิลิตร ต่อกระถาง ทุกๆ 7 วัน เป็นเวลา 9 สัปดาห์ และเก็บข้อมูลทุกๆ สัปดาห์ พบว่า ด้านความสูง Treatment 4 ทำให้มีการเจริญเติบโตของต้นข้าวสูงที่สุด คือ 109.99 เซนติเมตร จำนวนกอ พบว่า Treatment 1 ส่งผลให้มีจำนวนกอมากที่สุด 31.16 กอ และเส้นผ่านศูนย์กลาง พบว่า Treatment 4 มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากที่สุด คือ 1.36 เซนติเมตร หลังจากย้ายกล้าลงกระถางเป็นเวลา 9 สัปดาห์ สำหรับการออกรวงและติดเมล็ด พบว่า มีการออกรวงแต่ไม่มีการติดเมล็ด ดังนั้น จึงควรงดการให้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ในช่วงสัปดาห์ที่ 4-5 เนื่องจากปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพมีผลด้านการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านลำต้นเท่านั้น
สูตรอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของกล้วยน้ำว้ากาบขาว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาการเจริญเติบโตของกล้วยน้ำว้ากาบขาวในด้าน จำนวนยอด และ จำนวนรากบนอาหารสังเคราะห์6สูตร ได้แก่สูตรเหลว 3 สูตร คือสูตรที่ 1 MS เติมBAความเข้มข้น 3 มิลลิกรัมต่อลิตรเติมน้ำตาล30 กรัมต่อลิตรปรับ pH5.6 สูตรที่ 2 MS เติมBAเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตรเติมน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร ปรับ pH5.6 สูตรที่ 3 MS เติมBAเข้มข้น 7 มิลลิกรัมต่อลิตรเติมน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร ปรับ pH5.6สูตรแข็ง 3 สูตร คือ สูตรที่ 1 MS เติมน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตรและผงวุ้น 7 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.6สูตรที่ 2 MS เติมNAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตรเติมน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตรและผงวุ้น 7 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.6สูตรที่ 3 MS เติมNAAความเข้มข้น 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตรเติมน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตรและผงวุ้น 7 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.6 และ เริ่มเก็บข้อมูลในสัปดาห์ที่ 1-4 เนื่องจากกล้วยน้ำว้ากาบขาวเจริญเติบโตเร็ว พบว่า การเจริญเติบโตทางด้านจำนวนยอดไม่มีความแตกต่างทางสถิติในทุกสัปดาห์ จึงได้กล่าวได้ว่า สูตรที่ 1 มีความเหมาะสมในการเกิดยอดมากที่สุดการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนรากไม่มีความแตกต่างทางสถิติในทุกสัปดาห์ จึงได้กล่าวได้ว่า สูตรที่ 3มีความเหมาะสมในการเกิดรากมากที่สุด
ผลของสูตรอาหารต่อการเพิ่มจำนวนและเจริญเติบโตของกล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การศึกษาการเพิ่มปริมาณและการเจริญเติบโตของกล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง ในด้านอัตราการรอดชีวิต จำนวนใบ และความสูงต้นในสูตรอาหารสังเคราะห์เหลว 3 สูตร คือ สูตรที่ 1 MS เติม BA ความเข้มข้น 3 มิลลิกรัมต่อลิตร และน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร pH 5.6; สูตรที่ 2 MS เติม BA ความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร และน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร pH 5.6 และ สูตรที่ 3 MS เติม BA ความเข้มข้น 7 มิลลิกรัมต่อลิตร และ น้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร pH 5.6 เป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า อาหารเหลวสูตรที่ 3 เหมาะสมที่สุด เนื่องจาก มีอัตราการรอดชีวิต 5.50 ชิ้นต่อขวด ไม่มีความแตกต่างทางสถิตกับอาหารเหลวสูตรที่ 1 ซึ่งมีอัตราการรอดชีวิตสูงสุดเท่ากับ 5.70 ชิ้นต่อขวด แต่อาหารสูตรที่ 3 มีการแตกตายอดสูงสุดเท่ากับ 1.76 ยอดต่อชิ้นส่วน จำนวนใบสูงสุดเท่ากับ 2.25 ใบต่อยอด และความสูงต้นสูงสุดเท่ากับ 3.07 เซนติเมตรต่อชิ้นส่วน การศึกษาการเจริญเติบโตและการออกรากของกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องในด้านจำนวนราก จำนวนใบ ความยาวราก และความสูงต้น บนอาหารแข็ง 3 สูตร คือ สูตรที่ 1 MS เติมน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร และ ผงวุ้น 7 กรัมต่อลิตร pH 5.6; สูตรที่ 2 MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.1 มิลลิลิตรต่อลิตร เติมน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร เติมผงวุ้น 7 กรัมต่อลิตร pH 5.6 และสูตรที่ 3 MS เติม NAA ความเข้มข้น 0.2 มิลลิลิตรต่อลิตร และน้ำตาล 30 กรัมต่อลิตร และผงวุ้น 7 กรัมต่อลิตร pH 5.6 เป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า อาหารแข็งสูตรที่ 3 มีการเจริญเติบโตได้ดีที่สุด เนื่องจาก มีจำนวนรากสูงสุดเท่ากับ 7.53 รากต่อต้น จำนวนใบสูงสุดเท่ากับ 1.20 ใบต่อต้น ความยาวรากสูงสุดเท่ากับ 9.68 เซนติเมตรต่อต้น และความสูงต้นสูงสุดเท่ากับ 3.60 เซนติเมตรต่อต้น
|