อิทธิพลของรังสีแกมมาต่อการพัฒนาพันธุ์คาลล่าลิลลี่ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คาลล่าลิลลี่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ปัจจุบันมีการนามาปลูกในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ใหม่ในพืชสามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ หรือทาให้เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีชนิดต่าง ๆ หรือสารเคมี ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงชักนาให้เกิดการกลายในต้นคาลล่าลิลลี่ ในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันโดยนาชิ้นส่วนของต้นคาลล่าลิลลี่ เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลานาน 14 วัน มาฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0 20 40 และ 60 เกรย์ ผลการศึกษาพบว่าเมื่อปริมาณรังสีแกมมาที่เพิ่มสูงขึ้นจะทาให้อัตราการรอดชีวิตของชิ้นส่วนพืชลดต่าลง คือที่ปริมาณรังสี 20 40 และ 60 เกรย์ มีอัตราการรอดชีวิต 100 80 และ 65 เปอร์เซ็น ตามลาดับ (20 16 และ 13 ต้น) ที่ปริมาณรังสี 60 เกรย์ พบลักษณะต้นอ่อนที่เกิดใหม่มีขนาดเล็ก แคระแกร็น หรือต้นมีสีน้าตาล และพบลักษณะต้นกลายทั้งหมด 6 ต้น (จากปริมาณรังสี 20 และ 40 เกรย์) คิดเป็น 15 และ 17 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งมีลักษณะใบหงิกงอ และมีแถบใบขาวตรงบริเวณขอบใบ คาลล่าลิลลี่ เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ปัจจุบันมีการนามาปลูกในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย โดยการสร้างความหลากหลายของพันธุ์ใหม่ในพืชสามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ หรือทาให้เกิดการกลายพันธุ์โดยใช้รังสีชนิดต่าง ๆ หรือสารเคมี ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงชักนาให้เกิดการกลายในต้นคาลล่าลิลลี่ ในสภาพปลอดเชื้อด้วยรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันโดยนาชิ้นส่วนของต้นคาลล่าลิลลี่ เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลานาน 14 วัน มาฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณ 0 20 40 และ 60 เกรย์ ผลการศึกษาพบว่าเมื่อปริมาณรังสีแกมมาที่เพิ่มสูงขึ้นจะทาให้อัตราการรอดชีวิตของชิ้นส่วนพืชลดต่าลง คือที่ปริมาณรังสี 20 40 และ 60 เกรย์ มีอัตราการรอดชีวิต 100 80 และ 65 เปอร์เซ็น ตามลาดับ (20 16 และ 13 ต้น) ที่ปริมาณรังสี 60 เกรย์ พบลักษณะต้นอ่อนที่เกิดใหม่มีขนาดเล็ก แคระแกร็น หรือต้นมีสีน้าตาล และพบลักษณะต้นกลายทั้งหมด 6 ต้น (จากปริมาณรังสี 20 และ 40 เกรย์) คิดเป็น 15 และ 17 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งมีลักษณะใบหงิกงอ และมีแถบใบขาวตรงบริเวณขอบใบ อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการชักนาต้นพิงกุยจากแผ่นใบ และระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช พิงกุยคูล่า (Pinguicula) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ บัตเตอร์เวิร์ด (Butterworth) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae สกุล Pinguicula มีการกระจายพันธุ์เกือบทั่วโลก แต่จะพบทางซีกโลกเหนือ แถบเม็กซิโกและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ สามารถนามาปลูกเลี้ยงได้ในประเทศไทยเนื่องจากในปัจจุบันมีการนาเข้ามาปลูกเลี้ยง และจาหน่ายเป็นไม้ประดับในประเทศไทย ต้นพิงกุยคูล่ามีลักษณะพิเศษ คือเป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชกินแมลงหรือพืชกินสัตว์ ดังนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งที่จะนามาขยายพันธุ์ให้มีการเพิ่มจานวนมากขึ้น และทาให้รวดเร็วเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด การทดลองนี้ทาเพื่อศึกษาการเกิดจานวนยอดโดยการใช้แผ่นใบเลี้ยงบนอาหาร Murashige and Skoog (MS) ร่วมกับ 6-Benzyladenine (BA) ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอดบนแผ่นใบ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 5 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 4 สัปดาห์สูตรอาหาร MS ร่วมกับ BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตรให้จานวนยอดบนแผ่นใบเฉลี่ยมากที่สุด 18.92±2.34 ยอด และการศึกษาระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวจานวน 1 ครั้ง/วัน 2 ครั้ง/วัน 3 ครั้ง/วัน ครั้งละ 2 นาที วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 8 สัปดาห์การเจริญเติบโตของพิงกุยคูล่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ พิงกุยคูล่า (Pinguicula) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ บัตเตอร์เวิร์ด (Butterworth) เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Lentibulariaceae สกุล Pinguicula มีการกระจายพันธุ์เกือบทั่วโลก แต่จะพบทางซีกโลกเหนือ แถบเม็กซิโกและยุโรปเป็นส่วนใหญ่ สามารถนามาปลูกเลี้ยงได้ในประเทศไทยเนื่องจากในปัจจุบันมีการนาเข้ามาปลูกเลี้ยง และจาหน่ายเป็นไม้ประดับในประเทศไทย ต้นพิงกุยคูล่ามีลักษณะพิเศษ คือเป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชกินแมลงหรือพืชกินสัตว์ ดังนั้นจึงมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งที่จะนามาขยายพันธุ์ให้มีการเพิ่มจานวนมากขึ้น และทาให้รวดเร็วเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด การทดลองนี้ทาเพื่อศึกษาการเกิดจานวนยอดโดยการใช้แผ่นใบเลี้ยงบนอาหาร Murashige and Skoog (MS) ร่วมกับ 6-Benzyladenine (BA) ความเข้มข้น 0 0.5 1 1.5 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอดบนแผ่นใบ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 5 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 4 สัปดาห์สูตรอาหาร MS ร่วมกับ BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตรให้จานวนยอดบนแผ่นใบเฉลี่ยมากที่สุด 18.92±2.34 ยอด และการศึกษาระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวจานวน 1 ครั้ง/วัน 2 ครั้ง/วัน 3 ครั้ง/วัน ครั้งละ 2 นาที วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 3 ซ้า ซ้าละ 10 ชิ้น ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 8 สัปดาห์การเจริญเติบโตของพิงกุยคูล่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผลของสารในกลุ่มออกซินต่อการเกิดรากและเจริญเติบโตของมันเทศประดับ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มันเทศประดับเป็นไม้ประดับที่มีลักษณะใบที่สวยงาม ปลูกเลี้ยงง่าย และปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเพื่อใช้ในการประดับตกแต่งในรูปแบบไม้กระถาง ไม้ประดับแปลง แต่มีปัญหาในการขยายพันธุ์มันเทศประดับ คือการออกรากไม่สม่่าเสมอในระหว่างการตัดช่า จึงท่าการทดลองนี้เพื่อศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มออกซินต่อการเกิดราก และการเจริญเติบโตของมันเทศประดับ โดยใช้สาร 3 ชนิด คือ IAA NAA และ IBA ที่ระดับความเข้มข้นของสารแต่ละชนิด คือ 500 1000 และ 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร และให้น้่ากลั่นเป็นชุดควบคุม โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มี 10 สิ่งทดลอง การทดลองละ 15 ซ้่า ซ้่าละ 1 กิ่ง พบว่าสารในกลุ่มออกซิน แต่ละชนิดไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นการเกิดรากของมันเทศประดับ แต่ความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดในการชักน่าให้เกิดรากและความยาวรากเฉลี่ยสูงที่สุดคือการใช้ IBA 1000 มิลลิกรัมต่อลิตร (18.75 ± 6.86 ราก) และยาวที่สุด (17.50 ± 8.33 ซม) IAA 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถท่าให้ต้นมันเทศมีความยาวและกิ่งแขนงมากที่สุด (20.00 ± 2.76 และ 1.80 ± 0.73 กิ่ง ตามล่าดับ) และ IAA 500 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถท่าให้ต้นมันเทศมีขนาดความกว้างและความยาวใบเฉลี่ยใหญ่ที่สุด (7.34 ± 0.65 และ9.60 ± 1.51 เซนติเมตร ตามล่าดับ) มันเทศประดับเป็นไม้ประดับที่มีลักษณะใบที่สวยงาม ปลูกเลี้ยงง่าย และปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเพื่อใช้ในการประดับตกแต่งในรูปแบบไม้กระถาง ไม้ประดับแปลง แต่มีปัญหาในการขยายพันธุ์มันเทศประดับ คือการออกรากไม่สม่่าเสมอในระหว่างการตัดช่า จึงท่าการทดลองนี้เพื่อศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มออกซินต่อการเกิดราก และการเจริญเติบโตของมันเทศประดับ โดยใช้สาร 3 ชนิด คือ IAA NAA และ IBA ที่ระดับความเข้มข้นของสารแต่ละชนิด คือ 500 1000 และ 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร และให้น้่ากลั่นเป็นชุดควบคุม โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มี 10 สิ่งทดลอง การทดลองละ 15 ซ้่า ซ้่าละ 1 กิ่ง พบว่าสารในกลุ่มออกซิน แต่ละชนิดไม่มีผลต่อเปอร์เซ็นการเกิดรากของมันเทศประดับ แต่ความเข้มข้นที่เหมาะสมที่สุดในการชักน่าให้เกิดรากและความยาวรากเฉลี่ยสูงที่สุดคือการใช้ IBA 1000 มิลลิกรัมต่อลิตร (18.75 ± 6.86 ราก) และยาวที่สุด (17.50 ± 8.33 ซม) IAA 2000 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถท่าให้ต้นมันเทศมีความยาวและกิ่งแขนงมากที่สุด (20.00 ± 2.76 และ 1.80 ± 0.73 กิ่ง ตามล่าดับ) และ IAA 500 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถท่าให้ต้นมันเทศมีขนาดความกว้างและความยาวใบเฉลี่ยใหญ่ที่สุด (7.34 ± 0.65 และ9.60 ± 1.51 เซนติเมตร ตามล่าดับ) การชักนาให้กล้วยไข่เกิดการกลายในระบบไบโอรีแอคเตอร์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช กล้วยไข่ Musa Sapientum เป็นไม้ผลที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและผูกพันกับประเพณีของไทยมานาน และเป็นกล้วยที่นิยมปลูกกันมากชนิดหนึ่งในประเทศไทยเนื่องจากมีรสชาติหวาน ในปัจจุบันนี้กล้วยไข่ เป็นผลไม้ที่มีศักยภาพในการส่งออกชนิดหนึ่งเนื่องจากมีผลขนาดเล็ก แตกต่างไปจากกล้วยในตลาดการค้าสากลซึ่งเป็นกลุ่ม Cavendish ที่มีผลขนาดใหญ่ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะให้ความสนใจเพิ่มขึ้นกับกล้วยที่มีผลขนาดเล็กทาให้ประเทศไทยมีโอกาสผลิตและส่งกล้วยไข่ไปขายในตลาดประเทศ การทดลองนี้เพื่อศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้วยไข่ในระบบไบโอรีแอคเตอร์ที่ได้รับสารออไรซาลินวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized Design, CRD) มีจานวน 10 สิ่งทดลองทดลองจานวน 5 ซ้า เป็นเวลา 1, 3 และ 5 วัน ในความเข้มข้น 0, 1, 3และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นที่มีจานวนใบมากที่สุดคือความเข้มขัน 1 มิลลิกรัมต่อลิต นาน 3 วัน มีการแตกใบเฉลี่ย 4.00 ต้นที่มีความสูงต้นน้อยที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความสูงเฉลี่ย 0.90 เซนติเมตร ต้นที่มีจานวนรากมากที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน มีจานวนรากเฉลี่ย 4.40 ราก ต้นที่มีความยาวรากมากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความยาวรากเฉลี่ย 4.40 เซนติเมตร ต้นที่มีความยาวใบมากที่สุด มีความเข้มข้น 0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความยาวรากเฉลี่ย 2.82 เซนติเมตร ต้นที่มีความกว้างใบ มากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน เท่ากับควบคุม มีความกว้างเฉลี่ย 1.30 เซนติเมตร กล้วยไข่ Musa Sapientum เป็นไม้ผลที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและผูกพันกับประเพณีของไทยมานาน และเป็นกล้วยที่นิยมปลูกกันมากชนิดหนึ่งในประเทศไทยเนื่องจากมีรสชาติหวาน ในปัจจุบันนี้กล้วยไข่ เป็นผลไม้ที่มีศักยภาพในการส่งออกชนิดหนึ่งเนื่องจากมีผลขนาดเล็ก แตกต่างไปจากกล้วยในตลาดการค้าสากลซึ่งเป็นกลุ่ม Cavendish ที่มีผลขนาดใหญ่ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะให้ความสนใจเพิ่มขึ้นกับกล้วยที่มีผลขนาดเล็กทาให้ประเทศไทยมีโอกาสผลิตและส่งกล้วยไข่ไปขายในตลาดประเทศ การทดลองนี้เพื่อศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้วยไข่ในระบบไบโอรีแอคเตอร์ที่ได้รับสารออไรซาลินวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized Design, CRD) มีจานวน 10 สิ่งทดลองทดลองจานวน 5 ซ้า เป็นเวลา 1, 3 และ 5 วัน ในความเข้มข้น 0, 1, 3และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นที่มีจานวนใบมากที่สุดคือความเข้มขัน 1 มิลลิกรัมต่อลิต นาน 3 วัน มีการแตกใบเฉลี่ย 4.00 ต้นที่มีความสูงต้นน้อยที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความสูงเฉลี่ย 0.90 เซนติเมตร ต้นที่มีจานวนรากมากที่สุดคือความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน มีจานวนรากเฉลี่ย 4.40 ราก ต้นที่มีความยาวรากมากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 3 วัน มีความยาวรากเฉลี่ย 4.40 เซนติเมตร ต้นที่มีความยาวใบมากที่สุด มีความเข้มข้น 0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีความยาวรากเฉลี่ย 2.82 เซนติเมตร ต้นที่มีความกว้างใบ มากที่สุด มีความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 1 วัน เท่ากับควบคุม มีความกว้างเฉลี่ย 1.30 เซนติเมตร การศึกษาผลของรังสีแกมมาต่อการกลายพันธุ์ของเปเปอร์มินท์ บนอาหารสังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช เปปเปอร์มินท์ เป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรตระกูลมินท์ ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก ด้วยความหอมสดชื่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งกลิ่นและรสชาติ จึงถูกนำมาเป็นส่วนผสมในหลากหลายผลิตภัณฑ์ ในการศึกษาผลของรังสีแกมมาที่มีต่อการเจริญเติบโตและลักษณะสัณฐานวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของต้นเปเปอร์มินท์ โดยการพะเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนของลำต้นซึ่งผ่านการฉายรังสีแบบเฉียบพลัน ที่ระดับรังสี 0, 20, 40, 60, 80, และ100 เกรย์ และฉายรังสีซ้ำที่ระดับ 0+0, 20+20, 40+40, และ 60+60 เกรย์ โดยนำชิ้นส่วนในสภาพปลอดเชื้อ เลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS. 1962) จากการศึกษาผลของรังสีแกกมมาที่มีผลต่อการเติบโตและการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาสรุปได้ว่า ในปริมาณรังสีที่ส่งผลให้ต้นเปเปอร์มินท์เจริญเติบโตได้ดีที่สุดอยู่ที่ระดับรังสี 0 เกรย์ และระดับรังสีแกมมาที่ส่งผลต่อการกลายพันธุ์ของต้นเปเปอร์มินท์ได้ดีที่สุดที่ระดับรังสี 40+40 เกรย์ เปปเปอร์มินท์ เป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรตระกูลมินท์ ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก ด้วยความหอมสดชื่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งกลิ่นและรสชาติ จึงถูกนำมาเป็นส่วนผสมในหลากหลายผลิตภัณฑ์ ในการศึกษาผลของรังสีแกมมาที่มีต่อการเจริญเติบโตและลักษณะสัณฐานวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปของต้นเปเปอร์มินท์ โดยการพะเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนของลำต้นซึ่งผ่านการฉายรังสีแบบเฉียบพลัน ที่ระดับรังสี 0, 20, 40, 60, 80, และ100 เกรย์ และฉายรังสีซ้ำที่ระดับ 0+0, 20+20, 40+40, และ 60+60 เกรย์ โดยนำชิ้นส่วนในสภาพปลอดเชื้อ เลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS. 1962) จากการศึกษาผลของรังสีแกกมมาที่มีผลต่อการเติบโตและการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาสรุปได้ว่า ในปริมาณรังสีที่ส่งผลให้ต้นเปเปอร์มินท์เจริญเติบโตได้ดีที่สุดอยู่ที่ระดับรังสี 0 เกรย์ และระดับรังสีแกมมาที่ส่งผลต่อการกลายพันธุ์ของต้นเปเปอร์มินท์ได้ดีที่สุดที่ระดับรังสี 40+40 เกรย์ การพัฒนาระบบการผลิตผักด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีจุดประสงค์เพื่อเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิด คือ กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด เรดคอรัล กรีนคอส ฟิลเลย์ ในการปลูกแบบอินทรีย์ในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ (Smart Farm) แบ่งเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิดในระบบน้้าหยด วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ (Completely Randomized Design, CRD) 6 สิ่งทดลอง จ้านวน 10 ซ้้า พบว่าบัตเตอร์เฮด มีจ้านวนใบมากที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 และ 4 ความกว้างใบในสัปดาห์ที่ 1 บัตเตอร์เฮดมีความกว้างใบมากที่สุดไม่แตกต่างทางสถิติกับเรดโอ๊ค สัปดาห์ที่ 4 กรีนโอ๊คมีความกว้างใบมากที่สุด ความยาวใบที่สูงที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 คือบัตเตอร์เฮด ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรีนคอส เรดโอ๊ค และกรีนโอ๊ค และในสัปดาห์ที่ 4 คือ กรีนโอ๊ค กรีนคอสมีความสูงต้นมากที่สุด และกรีนโอ๊คมีขนาดพุ่มใหญ่ที่สุด ในการทดลองที่ 2 ทดลองโดยใช้น้้าหมักชีวภาพจากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ มี 36 ชุด จ้านวน 5 ซ้้า 6 สิ่งทดลอง ดังนี้ น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง น้้าหมักชีวภาพถั่วเหลือง น้้าหมักชีวภาพข้าวโพด น้้าหมักชีวภาพร้าละเอียด น้้าหมักชีวภาพเศษเลือด และน้้าหมักชีวภาพเศษปลา ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ พบว่าการใช้น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตที่สูงที่สุด รองลงมาคือ น้้าหมักชีวภาพ ถั่วเหลือง การทดลองนี้มีจุดประสงค์เพื่อเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิด คือ กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด เรดคอรัล กรีนคอส ฟิลเลย์ ในการปลูกแบบอินทรีย์ในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ (Smart Farm) แบ่งเป็น 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ 6 ชนิดในระบบน้้าหยด วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ (Completely Randomized Design, CRD) 6 สิ่งทดลอง จ้านวน 10 ซ้้า พบว่าบัตเตอร์เฮด มีจ้านวนใบมากที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 และ 4 ความกว้างใบในสัปดาห์ที่ 1 บัตเตอร์เฮดมีความกว้างใบมากที่สุดไม่แตกต่างทางสถิติกับเรดโอ๊ค สัปดาห์ที่ 4 กรีนโอ๊คมีความกว้างใบมากที่สุด ความยาวใบที่สูงที่สุดในสัปดาห์ที่ 1 คือบัตเตอร์เฮด ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรีนคอส เรดโอ๊ค และกรีนโอ๊ค และในสัปดาห์ที่ 4 คือ กรีนโอ๊ค กรีนคอสมีความสูงต้นมากที่สุด และกรีนโอ๊คมีขนาดพุ่มใหญ่ที่สุด ในการทดลองที่ 2 ทดลองโดยใช้น้้าหมักชีวภาพจากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบรูณ์ มี 36 ชุด จ้านวน 5 ซ้้า 6 สิ่งทดลอง ดังนี้ น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง น้้าหมักชีวภาพถั่วเหลือง น้้าหมักชีวภาพข้าวโพด น้้าหมักชีวภาพร้าละเอียด น้้าหมักชีวภาพเศษเลือด และน้้าหมักชีวภาพเศษปลา ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดพันธุ์ต่างประเทศ พบว่าการใช้น้้าหมักชีวภาพถั่วลิสง มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตที่สูงที่สุด รองลงมาคือ น้้าหมักชีวภาพ ถั่วเหลือง อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หม่อนเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สร้างประโยชน์ได้หลายหลาย เช่น ชาใบหม่อน หม่อนทานผล แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แต่การขยายพันธุ์ส่วนใหญ่มักใช้ท่อนพันธุ์ในการขยายพันธุ์ แต่หม่อนหลายชนิดขยายพันธุ์ด้วยการปักช้าจะเจริญเติบโตช้า ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการติดตา แต่ต้องมีความช้านาญ แต่อีกวิธีที่จะขยายพันธุ์หม่อนได้รสดเร็ว คือ การเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ ซื่งในการทดลองครั งนี ได้ท้าการศึกษาอิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งออกเป็น 2 การทดลองคือ การศึกษาผลของ BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.50-2.50 มิลลิกรัมต่อลิตร NAA 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตร และผงถ่าน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ต่อการเจริญเติบโตของเวียดนาม GQ2 และผลของน้าตาลกลูโคส ซูโครส และฟรักโทสต่อการเจริญเติบโตของหม่อน พบว่าสูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดและจ้านวนรากมากที่สุด และน้าตาลซูโครสเหมาะสมที่สุดที่น้ามาเพาะเลี ยงหม่อนเวียดนาม GQ2 หม่อนเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สร้างประโยชน์ได้หลายหลาย เช่น ชาใบหม่อน หม่อนทานผล แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แต่การขยายพันธุ์ส่วนใหญ่มักใช้ท่อนพันธุ์ในการขยายพันธุ์ แต่หม่อนหลายชนิดขยายพันธุ์ด้วยการปักช้าจะเจริญเติบโตช้า ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการติดตา แต่ต้องมีความช้านาญ แต่อีกวิธีที่จะขยายพันธุ์หม่อนได้รสดเร็ว คือ การเพาะเลี ยงเนื อเยื่อ ซื่งในการทดลองครั งนี ได้ท้าการศึกษาอิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต และน้าตาลชนิดต่างๆ ต่อการเพิ่มปริมาณหม่อนเวียดนาม GQ2 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งออกเป็น 2 การทดลองคือ การศึกษาผลของ BA ที่ระดับความเข้มข้น 0.50-2.50 มิลลิกรัมต่อลิตร NAA 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตร และผงถ่าน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ต่อการเจริญเติบโตของเวียดนาม GQ2 และผลของน้าตาลกลูโคส ซูโครส และฟรักโทสต่อการเจริญเติบโตของหม่อน พบว่าสูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดและจ้านวนรากมากที่สุด และน้าตาลซูโครสเหมาะสมที่สุดที่น้ามาเพาะเลี ยงหม่อนเวียดนาม GQ2 อิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโตและน้ามะพร้าวชนิดต่างๆ ต่อการเจริญเติบโตของโปรโตคอร์มกล้วยไม้การค้า | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช กล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobiun) เป็นกล้วยไม้ที่นิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก และเป็นที่ต้องการในตลาด จึงได้ท้าการทดลองนี มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตในอาหารเหลว Vacin and Went (VW) ในกล้วยไม้การค้าเพื่อเพิ่มปริมาณ ซึ่งสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่ใช้กับ สารสังเคราะห์ Benzyladenine (BA) ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1,5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร และสารอินทรีย์ กับน้ามะพร้าวสด ในปริมาณ 100 และ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร และ น้ามะพร้าวส้าเร็จรูป ได้แก่ยี่ห้อ coco max® ,malee® และ if® ในปริมาณ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ [Completely Randomized Design (CRD)] 11 ทรีตเมนต์ ทรีตเมนต์ละ 10 ซ้า พบว่า สารควบคุมการเจริญเติบโต น้ามะพร้าวสด 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้การเจริญเติบโตกับกล้วยการค้า ทางราก ยอด และหน่อ ได้ดีที่สุด หลังจากย้ายกล้วยไม้การค้าอาหารเหลว Vacin and Went (VW) ใส่ลงอาหารแข็ง Vacin and Went (VW) ที่เติมสารควบคุมสารการเจริญเติบโต Benzyladenine (BA) ในปริมาณ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่ให้เจริญเติบโตกล้วยไม้การค้า ทางราก ยอด และหน่อ ได้ดีที่สุด กล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobiun) เป็นกล้วยไม้ที่นิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก และเป็นที่ต้องการในตลาด จึงได้ท้าการทดลองนี มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาสารควบคุมการเจริญเติบโตในอาหารเหลว Vacin and Went (VW) ในกล้วยไม้การค้าเพื่อเพิ่มปริมาณ ซึ่งสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่ใช้กับ สารสังเคราะห์ Benzyladenine (BA) ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 1,5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร และสารอินทรีย์ กับน้ามะพร้าวสด ในปริมาณ 100 และ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร และ น้ามะพร้าวส้าเร็จรูป ได้แก่ยี่ห้อ coco max® ,malee® และ if® ในปริมาณ 200 มิลลิลิตรต่อลิตร โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ [Completely Randomized Design (CRD)] 11 ทรีตเมนต์ ทรีตเมนต์ละ 10 ซ้า พบว่า สารควบคุมการเจริญเติบโต น้ามะพร้าวสด 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้การเจริญเติบโตกับกล้วยการค้า ทางราก ยอด และหน่อ ได้ดีที่สุด หลังจากย้ายกล้วยไม้การค้าอาหารเหลว Vacin and Went (VW) ใส่ลงอาหารแข็ง Vacin and Went (VW) ที่เติมสารควบคุมสารการเจริญเติบโต Benzyladenine (BA) ในปริมาณ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่ให้เจริญเติบโตกล้วยไม้การค้า ทางราก ยอด และหน่อ ได้ดีที่สุด การศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายใต้โรงเรือนควบคุมอุณหภูมิ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช แตงกวาญี่ปุ่น เป็นพืชที่กาลังเป็นที่นิยมบริโภค ปลูกในแถบภาคเหนือ ปลูกได้ตลอดทั้งปี แต่มีราคาสูง จึงนามาปลูกในโรงเรือนเพื่อป้องกันศัตรูพืช การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกนิยมใช้ปลูกพืชในโรงเรือน เพื่อเพิ่มผลผลิตแตงกวาญี่ปุ่นให้ประสบความสาเร็จจึงต้องคานึงถึงชนิดและคุณสมบัติของวัสดุปลูกที่เหมาะสม การทดลองครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกชนิดต่างๆที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายในโรงเรือน นาต้นกล้าแตงกวาญี่ปุ่นอายุ 7 วัน มาย้ายปลูกในวัสดุปลูกที่แตกต่างกัน 10 ชนิด ภายใต้โรงเรือน จานวน 5 ซ้า บันทึกข้อมูล 12 ลักษณะ พบว่า ค่าเฉลี่ยความสูงลาต้นหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่ดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 2:1:1 เท่ากับ 64.67 เซนติเมตร หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 สูงที่สุด เท่ากับ 143.20 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 สูงที่สุด เท่ากับ 223.40 เซนติเมตร จานวนใบหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขุยมะพร้าว เท่ากับ 8 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 17 ใบ และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:2:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 25 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วันเส้นผ่านศูนย์กลางลาต้น ขุยมะพร้าว มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 1.8 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน แกลบเผา ค่าเฉลี่ยสูงสุด 2.15 เซนติเมตร จานวนและความยาวแขนง ใบแขนง น้าหนัก ความกว้างและปริมาตรผล ความหนาเนื้อ ความหนาเปลือก และความหวานเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ วัสดุปลูกที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้คือ ขุยมะพร้าวและแกลบเผา แตงกวาญี่ปุ่น เป็นพืชที่กาลังเป็นที่นิยมบริโภค ปลูกในแถบภาคเหนือ ปลูกได้ตลอดทั้งปี แต่มีราคาสูง จึงนามาปลูกในโรงเรือนเพื่อป้องกันศัตรูพืช การปลูกพืชโดยใช้วัสดุปลูกนิยมใช้ปลูกพืชในโรงเรือน เพื่อเพิ่มผลผลิตแตงกวาญี่ปุ่นให้ประสบความสาเร็จจึงต้องคานึงถึงชนิดและคุณสมบัติของวัสดุปลูกที่เหมาะสม การทดลองครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของวัสดุปลูกชนิดต่างๆที่เหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของแตงกวาญี่ปุ่นภายในโรงเรือน นาต้นกล้าแตงกวาญี่ปุ่นอายุ 7 วัน มาย้ายปลูกในวัสดุปลูกที่แตกต่างกัน 10 ชนิด ภายใต้โรงเรือน จานวน 5 ซ้า บันทึกข้อมูล 12 ลักษณะ พบว่า ค่าเฉลี่ยความสูงลาต้นหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่ดีที่สุดคือ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 2:1:1 เท่ากับ 64.67 เซนติเมตร หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 สูงที่สุด เท่ากับ 143.20 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 สูงที่สุด เท่ากับ 223.40 เซนติเมตร จานวนใบหลังย้ายกล้า 14 วัน วัสดุปลูกที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขุยมะพร้าว เท่ากับ 8 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วัน ขุยมะพร้าว:แกลบเผา 1:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 17 ใบ และหลังย้ายกล้า 28 วัน ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:1:2 และ ขุยมะพร้าว:กาบมะพร้าว:แกลบเผา 1:2:1 ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด 25 ใบ หลังย้ายกล้า 21 วันเส้นผ่านศูนย์กลางลาต้น ขุยมะพร้าว มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 1.8 เซนติเมตร และหลังย้ายกล้า 28 วัน แกลบเผา ค่าเฉลี่ยสูงสุด 2.15 เซนติเมตร จานวนและความยาวแขนง ใบแขนง น้าหนัก ความกว้างและปริมาตรผล ความหนาเนื้อ ความหนาเปลือก และความหวานเฉลี่ย ไม่แตกต่างกันทางสถิติ วัสดุปลูกที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้คือ ขุยมะพร้าวและแกลบเผา อิทธิพลของ BA NAA และถ่านกัมมันต์ ต่อการขยายพันธุ์ปทุมมาลูกผสมจากช่อดอกอ่อน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ปทุมมา เป็นไม้ดอกที่พบได้ตามชายป่าดอกมีสีสันสวยงาม จึงมีผู้สนใจปลูกเลี้ยงกันมากเป็นเหตุให้หัวของปทุมมาถูกขุดออกมาจากป่า ทาให้ปทุมาในป่ามีจานวนน้อยลง จึงต้องมีการขยายพันธุ์ให้ได้จานวนมากในระยะเวลาอันสั้นโดยการเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ การทดลองนี้ทาการศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมต่อการชักนาให้เกิดรากและยอด โดยนาต้นอ่อนในสภาพปลอดเชื้อมาเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 2.0 หรือ 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอด และ NAA ความเข้มข้น 0.5 1.0 หรือ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.125 หรือ 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดราก เติมวุ้น 2.5 กรัมต่อลิตร เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.7 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) พบว่าระยะเวลา 1 เดือน อาหารสูตร MS ที่เติม BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนใบสูงสุดเฉลี่ย 1.50 ± 1.06 ใบ อาหารสูตร MS ที่เติม BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความยาวใบสูงสุดเฉลี่ย 3.75 ± 3.16 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA 0.5 ให้จานวนรากสูงสุดเฉลี่ย 10.25 ± 9.16 ราก อาหารสูตร MS ที่เติม ผงถ่าน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความยาวรากสูงสุดเฉลี่ย 2.12 ± 1.55 เซนติเมตร ระยะเวลา 2 เดือน อาหารสูตร MS ให้จานวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุดเฉลี่ย 2.75 ± 1.28 ยอด อาหารสูตร MS ให้จานวนใบสูงสุดเฉลี่ย 4.50 ± 2.13 ใบ อาหารสูตร MS ให้ความยาวใบสูงสุดเฉลี่ย 7.37 ± 3.10 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากสูงสุดเฉลี่ย 14.62 ± 10.39 ราก อาหารสูตร MS ที่เติม ผงถ่าน 0.125 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความยาวรากสูงสุดเฉลี่ย 5.25 ± 1.43 เซนติเมตร ปทุมมา เป็นไม้ดอกที่พบได้ตามชายป่าดอกมีสีสันสวยงาม จึงมีผู้สนใจปลูกเลี้ยงกันมากเป็นเหตุให้หัวของปทุมมาถูกขุดออกมาจากป่า ทาให้ปทุมาในป่ามีจานวนน้อยลง จึงต้องมีการขยายพันธุ์ให้ได้จานวนมากในระยะเวลาอันสั้นโดยการเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ การทดลองนี้ทาการศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมต่อการชักนาให้เกิดรากและยอด โดยนาต้นอ่อนในสภาพปลอดเชื้อมาเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 2.0 หรือ 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอด และ NAA ความเข้มข้น 0.5 1.0 หรือ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.125 หรือ 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดราก เติมวุ้น 2.5 กรัมต่อลิตร เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.7 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) พบว่าระยะเวลา 1 เดือน อาหารสูตร MS ที่เติม BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนใบสูงสุดเฉลี่ย 1.50 ± 1.06 ใบ อาหารสูตร MS ที่เติม BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความยาวใบสูงสุดเฉลี่ย 3.75 ± 3.16 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA 0.5 ให้จานวนรากสูงสุดเฉลี่ย 10.25 ± 9.16 ราก อาหารสูตร MS ที่เติม ผงถ่าน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความยาวรากสูงสุดเฉลี่ย 2.12 ± 1.55 เซนติเมตร ระยะเวลา 2 เดือน อาหารสูตร MS ให้จานวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุดเฉลี่ย 2.75 ± 1.28 ยอด อาหารสูตร MS ให้จานวนใบสูงสุดเฉลี่ย 4.50 ± 2.13 ใบ อาหารสูตร MS ให้ความยาวใบสูงสุดเฉลี่ย 7.37 ± 3.10 เซนติเมตร อาหารสูตร MS ที่เติม NAA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนรากสูงสุดเฉลี่ย 14.62 ± 10.39 ราก อาหารสูตร MS ที่เติม ผงถ่าน 0.125 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ความยาวรากสูงสุดเฉลี่ย 5.25 ± 1.43 เซนติเมตร ผลของสารพาโคบิวทราโซลต่อการเจริญเติบโตของหญ้าไข่มุก | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หญ้าไข่มุก Pennisetum glaucum (L.) R.Br.ในอดีตเป็นพืชอาหารสัตว์สาหรับเลี้ยงโคนม แต่ในปัจจุบันได้มีการทดลองนาต้นหญ้าไข่มุก มาเปลี่ยนให้เป็นหญ้าประดับตกแต่งตามอาคาร สถานที่ต่างๆ ใช้ตกแต่งสวน และทาเป็นดอกไม้แห้ง เพื่อใช้ในการปักแจกัน หรือทาเป็นช่อดอกไม้แห้ง เพื่อเพิ่มรายได้ การทดลองนี้ทาการศึกษาผลของปริมาณการใช้สารละลายพาโคลบิวทราโซล (Paclobutrazol; PBZ) ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหญ้าไข่มุก โดยมีการทดลอง 5 สิ่งทดลอง สิ่งทดลองละ 10 ซ้า คือ ราดสารพาโคลบิวทราโซล 0 50 100 200 และ 250 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าด้านความสูงต้นในสิ่งทดลองที่ 4 ทาให้มีการเจริญเติบโตของต้นหญ้าไข่มุกลดลงคือ 11.14 เซนติเมตร ความยาวใบพบว่า สิ่งทดลองที่ 3 ทาให้มีการเจริญเติบโตของความยาวใบลดลงคือ 10.50 เซนติเมตร ขนาดลาต้นพบว่า สิ่งทดลองที่ 4 มีขนาดลาต้นใหญ่ที่สุด คือ 2.71 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลาต้นพบว่า สิ่งทดลองที่ 4 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลาต้นสูงที่สุด คือ 1.35 เซนติเมตร และความยาวช่อดอกพบว่า สิ่งทดลองที่ 5 มีขนาดดอกสั้นที่สุด คือ 13.87 เซนติเมตร ดังนั้น สรุปได้ว่าสิ่งทดลองที่ 4 มีความสูงต้น ขนาดลาต้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสั้นที่สุด จึงเหมาะสมที่สุดในการลดขนาดของหญ้าไข่มุก หญ้าไข่มุก Pennisetum glaucum (L.) R.Br.ในอดีตเป็นพืชอาหารสัตว์สาหรับเลี้ยงโคนม แต่ในปัจจุบันได้มีการทดลองนาต้นหญ้าไข่มุก มาเปลี่ยนให้เป็นหญ้าประดับตกแต่งตามอาคาร สถานที่ต่างๆ ใช้ตกแต่งสวน และทาเป็นดอกไม้แห้ง เพื่อใช้ในการปักแจกัน หรือทาเป็นช่อดอกไม้แห้ง เพื่อเพิ่มรายได้ การทดลองนี้ทาการศึกษาผลของปริมาณการใช้สารละลายพาโคลบิวทราโซล (Paclobutrazol; PBZ) ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของหญ้าไข่มุก โดยมีการทดลอง 5 สิ่งทดลอง สิ่งทดลองละ 10 ซ้า คือ ราดสารพาโคลบิวทราโซล 0 50 100 200 และ 250 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าด้านความสูงต้นในสิ่งทดลองที่ 4 ทาให้มีการเจริญเติบโตของต้นหญ้าไข่มุกลดลงคือ 11.14 เซนติเมตร ความยาวใบพบว่า สิ่งทดลองที่ 3 ทาให้มีการเจริญเติบโตของความยาวใบลดลงคือ 10.50 เซนติเมตร ขนาดลาต้นพบว่า สิ่งทดลองที่ 4 มีขนาดลาต้นใหญ่ที่สุด คือ 2.71 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลาต้นพบว่า สิ่งทดลองที่ 4 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางลาต้นสูงที่สุด คือ 1.35 เซนติเมตร และความยาวช่อดอกพบว่า สิ่งทดลองที่ 5 มีขนาดดอกสั้นที่สุด คือ 13.87 เซนติเมตร ดังนั้น สรุปได้ว่าสิ่งทดลองที่ 4 มีความสูงต้น ขนาดลาต้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสั้นที่สุด จึงเหมาะสมที่สุดในการลดขนาดของหญ้าไข่มุก อิทธิพลของ BA NAA และถ่านกัมมันต์ ต่อการพัฒนายอดและรากในต้นอนูเบียสแคระ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช อนูเบียสแคระ (Anubias barteri var. nana (Engl.) Crusio ‘Petite’) เป็นพรรณไม้น้าที่มีขนาดเล็ก นิยมน้ามาประดับตกแต่งบริเวณส่วนหน้าของตู้ปลาสวยงาม มีการเจริญเติบโตช้า จึงน้ามาขยายพันธุ์เพื่อให้ได้ต้นจ้านวนมากในระยะเวลาสั นในสภาพปลอดเชื อ การทดลองนี ท้าการศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมต่อการชักน้าให้เกิดรากและยอด โดยน้าต้นอ่อนในสภาพปลอดเชื อมาเลี ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 2.0 หรือ 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักน้าให้เกิดยอด และ NAA ความเข้มข้น 0.5 1.0 หรือ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.125 หรือ 0.25 กรัมต่อลิตร เพื่อชักน้าให้เกิดราก เติมวุ้น 2.5 กรัมต่อลิตร เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.7 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 10 ซ้า ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 1 สัปดาห์ ทุกสูตรอาหารเกิดการแตกยอดเท่ากัน ให้จ้านวนยอด 1.00 ยอด/ต้น ทุกสูตรอาหารไม่มีการเกิดราก ระยะเวลา 2 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติม NAA BA และผงถ่าน และ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 1.25 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 1.62 ราก/ต้น ระยะเวลา 3 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 2.00 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 2.50 ราก/ต้น ระยะเวลา 4 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 8.25 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 5.00 ราก/ต้น ดังนั นสูตรอาหารที่เหมาะกับต้นอนูเบียสแคระ ที่แนะน้าให้ใช้ คือ อาหารสูตร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ชักน้าให้เกิดยอดเฉลี่ยสูงที่สุด และสูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ชักน้าให้เกิดรากเฉลี่ยสูงที่สุด อนูเบียสแคระ (Anubias barteri var. nana (Engl.) Crusio ‘Petite’) เป็นพรรณไม้น้าที่มีขนาดเล็ก นิยมน้ามาประดับตกแต่งบริเวณส่วนหน้าของตู้ปลาสวยงาม มีการเจริญเติบโตช้า จึงน้ามาขยายพันธุ์เพื่อให้ได้ต้นจ้านวนมากในระยะเวลาสั นในสภาพปลอดเชื อ การทดลองนี ท้าการศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมต่อการชักน้าให้เกิดรากและยอด โดยน้าต้นอ่อนในสภาพปลอดเชื อมาเลี ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 2.0 หรือ 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อชักน้าให้เกิดยอด และ NAA ความเข้มข้น 0.5 1.0 หรือ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.125 หรือ 0.25 กรัมต่อลิตร เพื่อชักน้าให้เกิดราก เติมวุ้น 2.5 กรัมต่อลิตร เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ปรับ pH 5.7 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) สิ่งทดลองละ 10 ซ้า ผลการทดลองพบว่าระยะเวลา 1 สัปดาห์ ทุกสูตรอาหารเกิดการแตกยอดเท่ากัน ให้จ้านวนยอด 1.00 ยอด/ต้น ทุกสูตรอาหารไม่มีการเกิดราก ระยะเวลา 2 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติม NAA BA และผงถ่าน และ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 1.25 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 1.62 ราก/ต้น ระยะเวลา 3 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 2.00 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 2.50 ราก/ต้น ระยะเวลา 4 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จ้านวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 8.25 ยอด/ต้น สูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ให้จ้านวนรากเฉลี่ยสูงที่สุด 5.00 ราก/ต้น ดังนั นสูตรอาหารที่เหมาะกับต้นอนูเบียสแคระ ที่แนะน้าให้ใช้ คือ อาหารสูตร MS ที่เติม BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ชักน้าให้เกิดยอดเฉลี่ยสูงที่สุด และสูตรอาหาร MS ที่เติมผงถ่าน 0.125 กรัมต่อลิตร ชักน้าให้เกิดรากเฉลี่ยสูงที่สุด การเพิ่มปริมาณต้นเปปเปอร์มินท์ในสภาพปลอดเชื้อ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช เปปเปอร์มินท์ เป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรตระกูลมินท์ ที่ได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก ด้วยความหอมสดชื่นที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งกลิ่นและรสชาติ จึงถูกนามาเป็นส่วนผสมในหลากหลายผลิตภัณฑ์ แต่เปปเปอร์มินจากประเทศญึ่ปุ่นเจริญเติบโต และขยายพันธุ์ได้ช้า จึงจาเป็นต้องมีการขยายพันธุ์ให้ได้จานวนมาก และปลอดโรค ในระยะเวลาอันสั้นโดยการเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ ซึ่งในการทดลองนี้ได้ทาการศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการชักนาให้เกิดรากและยอด โดยนาต้นอ่อนในสภาพปลอดเชื้อมาเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS, 1962) ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 2.0 หรือ 2.5 มิลลิลิตรต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอด และ NAA ความเข้มข้น 0.5 1.0 หรือ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.125 หรือ 0.25 กรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดราก เติมวุ้น 2.5 กรัมต่อลิตร เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ปรับค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 5.7 ผลการทดลองพบว่าในระยะเวลา 4 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 10.00 ยอดต่อต้น เมื่อเปรียบเทียบกับต้นควบคุมให้จานวนยอด 2.12 ยอดต่อต้น สูตรอาหาร MS ที่เติม NAA 1.0 กรัมต่อลิตรให้จานวนรากเฉลี่ยมากที่สุด 10.38 รากต่อต้น เมื่อเปรียบเทียบกับต้นควบคุมให้จานวนราก 0.00 รากต่อต้น เปปเปอร์มินท์ เป็นหนึ่งในพืชสมุนไพรตระกูลมินท์ ที่ได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก ด้วยความหอมสดชื่นที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งกลิ่นและรสชาติ จึงถูกนามาเป็นส่วนผสมในหลากหลายผลิตภัณฑ์ แต่เปปเปอร์มินจากประเทศญึ่ปุ่นเจริญเติบโต และขยายพันธุ์ได้ช้า จึงจาเป็นต้องมีการขยายพันธุ์ให้ได้จานวนมาก และปลอดโรค ในระยะเวลาอันสั้นโดยการเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ ซึ่งในการทดลองนี้ได้ทาการศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการชักนาให้เกิดรากและยอด โดยนาต้นอ่อนในสภาพปลอดเชื้อมาเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS, 1962) ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 2.0 หรือ 2.5 มิลลิลิตรต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดยอด และ NAA ความเข้มข้น 0.5 1.0 หรือ 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.125 หรือ 0.25 กรัมต่อลิตร เพื่อชักนาให้เกิดราก เติมวุ้น 2.5 กรัมต่อลิตร เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ปรับค่าความเป็นกรด-ด่าง เท่ากับ 5.7 ผลการทดลองพบว่าในระยะเวลา 4 สัปดาห์ สูตรอาหาร MS ที่เติม BA 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จานวนยอดเฉลี่ยสูงที่สุด 10.00 ยอดต่อต้น เมื่อเปรียบเทียบกับต้นควบคุมให้จานวนยอด 2.12 ยอดต่อต้น สูตรอาหาร MS ที่เติม NAA 1.0 กรัมต่อลิตรให้จานวนรากเฉลี่ยมากที่สุด 10.38 รากต่อต้น เมื่อเปรียบเทียบกับต้นควบคุมให้จานวนราก 0.00 รากต่อต้น อิทธิพลของก้อนเชื้อเห็ดเก่าต่อการผลิตปทุมมาตัดดอก | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
ในประเทศไทยนั้นได้มีการเพาะเห็ดไว้เพื่อบริโภคมาก จึงทาให้เกิดการทิ้งก้อนเชื้อเห็ดเก่าโดยไม่นาไปใช้ประโยชน์ ดังนั้นจึงได้เห็นว่าก้อนเชื้อเห็ดเก่านั้นอาจจะนามาใช้เป็นวัสดุปลูกได้ และได้นามาทาการทดลองศึกษาอิทธิพลของก้อนเชื้อเห็ดเก่าต่อการผลิตปทุมมาตัดดอก โดยนาเชื้อเห็ดเก่ามาผสมกับวัสดุปลูกชนิดอื่น และได้ก้อนเชื้อเห็ดในปริมาณที่แตกต่างกัน ดังนี้ คือ ขุยมะพร้าวร่วมกับแกลบดิบ สัดส่วน 1 : 1 (ชุดควบคุม) เสริมก้อนเชื้อเห็ดเก่า 25 50 และ 75 เปอร์เซ็นต์ พบว่า วัสดุปลูก ขุยมะพร้าว+แกลบดิบ+ก้อนเชื้อเห็ดเก่า 50 % จะทาให้ในส่วนของ ความยาวใบ, ความกว้างใบ, ความสูงของลาต้นเทียม, ความยาวของดอก, ความยาวก้านชูช่อดอก, เส้นผ่าศูนย์กลางหัวพันธุ์, ความยาวหัว, จานวนตุ้มสะสมอาหาร และขนาดเส้นศูนย์ของดอกมีขนาดที่ใหญ่ขึ้น
อิทธิพลของโคลชิซินชนิดเม็ดต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสัณฐานวิทยาของตะไคร้ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ณัฐพงค์ จันจุฬา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
ตะไคร้ (Cymbopogon citratus (DC.) Stapf) เป็นพืชล้มลุกมีอายุหลายปี มีกลิ่นและรสชาติเฉพาะตัว นำไปปรุงอาหารได้หลายชนิด และยังมีความสำคัญในอุตสาหกรรมการผลิตและส่งออกทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งในการทดลองนี้ได้ทำการศึกษาผลของสารละลายจากยาเม็ดโคลชิซินต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสัณฐานวิทยาของต้นตะไคร้ โดยการนำไปแช่ในสารละลายจากยาเม็ดโคลชิซินที่ระดับความเข้มข้น 0 5 และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่ระยะเวลาแตกต่างกัน คือ 3 และ 5 วัน พบว่า เมื่อระยะเวลาและความเข้มข้นของการแช่สารละลายโคลชิซินนานขึ้น ส่งผลให้เปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตลดลง และการเจริญเติบโตทางด้านความยาวใบ ความกว้างใบ จำนวนต้นที่เพิ่มขึ้น ความสูงต้น ความหนาใบ และเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นมีแนวโน้มลงลด และลักษณะทางสัณฐานวิทยาวิทยา ต้นที่ผิดปกติ 3 แบบ คือ มีลักษณะการเจริญเติบโตที่ช้ากว่า ต้นเตี้ย ต้นเล็ก จึงทำการคัดเลือกไว้ทำการขยายพันธุ์ต่อไป
|