อิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจำลองระบบปลูกแบบใช้วัตถุปลูกไร้ดินต่อการเจริญเติบโตและประมาณในเรคโอ๊ค อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจำลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสำคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้ำกรอง ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้น้ำกรอง ปุ๋ยคอก ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่า Treatments 1 (control) สามารถทำให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,20,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลำดับ งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจำลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสำคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้ำกรอง ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้น้ำกรอง ปุ๋ยคอก ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่า Treatments 1 (control) สามารถทำให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,20,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลำดับ อิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้าปุ๋ย AB ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้ปุ๋ย AB 50 ml ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าปุ๋ย AB ที่ผ่านการฉาย plasma 20 นาที สามารถทาให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลาดับ งานวิจัยเล่นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอิทธิพลของพลาสมาเย็นในการจาลองระบบปลูกแบบไม่ใช้ดินต่อการเจริญเติบโต และปริมาณสารสาคัญในเรดโอ๊ค ด้วยวิธีการฉายพลาสมาลงน้าปุ๋ย AB ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเรดโอ๊ค สาเหตุของการเจริญเติบโตโดยใช้ปุ๋ย AB 50 ml ร่วมกับการใช้ plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20,25 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าปุ๋ย AB ที่ผ่านการฉาย plasma 20 นาที สามารถทาให้เรดโอ๊คมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่เรดโอ๊คฉาย plasma 5,10,15,25 นาที มีการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตขึ้นตามลาดับ การยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว ที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศ สาเหตุการสูญเสียคุณภาพของดอกไม้ โดยใช้สารละลายแอสไพริน 300ppm ร่วมกับซูโครส 5% และน้ำที่ผ่านการฉาย Plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ชูโครส 5% ร่วมกับ น้ำที่ผ่านการฉาย plasma 5 นาที สามารถยืดอายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศไว้นานที่สุดคือ 15 วัน ขณะที่ดอกเบญจมาศในน้ำกลั่นมีอายุการปักแจกันเพียง 7 วัน ดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ซูโครส 5% มีการเปลี่ยนสีของกลีบดอกน้อย ดอกมีขนาดใหญ่ อัตราการดูดน้ำสูง และน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในน้ำกลั่น งานวิจัยเล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการยืดอายุการปักแจกันของเบญจมาศตัดดอกด้วยวิธีการต่าง ๆ หลังการเก็บเกี่ยว ที่มีผลต่ออายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศ สาเหตุการสูญเสียคุณภาพของดอกไม้ โดยใช้สารละลายแอสไพริน 300ppm ร่วมกับซูโครส 5% และน้ำที่ผ่านการฉาย Plasma ที่ระยะเวลา 5,10,15,20 นาที ที่อุณหภูมิห้อง พบว่าสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ชูโครส 5% ร่วมกับ น้ำที่ผ่านการฉาย plasma 5 นาที สามารถยืดอายุการปักแจกันของดอกเบญจมาศไว้นานที่สุดคือ 15 วัน ขณะที่ดอกเบญจมาศในน้ำกลั่นมีอายุการปักแจกันเพียง 7 วัน ดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในสารละลายแอสไพริน 300 ppm ร่วมกับ ซูโครส 5% มีการเปลี่ยนสีของกลีบดอกน้อย ดอกมีขนาดใหญ่ อัตราการดูดน้ำสูง และน้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าดอกเบญจมาศที่ปักแจกันในน้ำกลั่น การปลูกทดสอบพันธุ์ทานตะวันลูกผสม‘Red Sunflower’ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ปลูกทั้งหมดจำนวน 60 ต้น โดยการผสมสายพันธุ์เดียวกันและผสมข้ามสายพันธุ์ มีทั้งหมด 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Red Sunflower (OLR) , Red Sunflower (OS), พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธ์ุ เพื่อใช้ในขยายพันธุ์ต่อ จากการปลูกทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) รุ่นที่1 (F1) ทำการเก็บอัตราการงอก เปอร์เซ็นต์การงอกที่ได้คือ 75 เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้นกล้าทานตะวันอายุ 14 วัน ทำการย้ายลงปลูกในกระถางขนาด 12 นิ้ว โดยอัตราการรอดชีวิตตั้งแต่วันแรกที่ย้ายลงกระถางเป็น ระยะเวลา 14 วัน อัตราการรอดชีวิตคือ 100 เปอร์เซ็นต์ จำนวนเมล็ดทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ที่ได้จากการผสมพันธุ์เดียวกันได้ทั้งหมด 196 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 24.5 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OLR) ได้ทั้งหมด 490 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 44.55 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OS) ได้ทั้งหมด 59 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 14.75 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) ได้ทั้งหมด 68 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 34.0 เมล็ดต่อดอก หลังจากให้เมล็ดพักตัวเป็นเวลา 2 เดือน ได้ทำการปลูกทดสอบรุ่นที่2 (F2) เพื่อดูลักษณะลูกผสม พบว่า ลูกผสมที่เกิดจากการพันธุ์ RS X RS มีลักษณะดอกมีดอกออกตามข้อใบ ดอกวงนอกมีสีเหลืองแซมด้วยสีส้ม ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X OLR มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีแดงแซมด้วยสีน้ำตาล ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ก้านดอกยาว ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X BY มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีเหลืองสด ดอกวงในสีน้ำตาล กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน มีดอกออกตามข้อใบ จากลูกผสมรุ่นที่2 (F2) ที่ปลูกทดสอบคู่RS X RS และ คู่RS X OLR มีความแตกต่างกันแค่เพียงสีดอก ส่วนคู่RS X BY มีขนาดดอกที่ใกล้เคียงกับต้นแม่ สีเหมือนต้นพ่อ มีลักษณะลำต้นที่คล้ายกันกับต้นแม่ ส่วนสีลำต้นคล้ายกันกับต้นพ่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ปลูกทั้งหมดจำนวน 60 ต้น โดยการผสมสายพันธุ์เดียวกันและผสมข้ามสายพันธุ์ มีทั้งหมด 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Red Sunflower (OLR) , Red Sunflower (OS), พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธ์ุ เพื่อใช้ในขยายพันธุ์ต่อ จากการปลูกทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) รุ่นที่1 (F1) ทำการเก็บอัตราการงอก เปอร์เซ็นต์การงอกที่ได้คือ 75 เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้นกล้าทานตะวันอายุ 14 วัน ทำการย้ายลงปลูกในกระถางขนาด 12 นิ้ว โดยอัตราการรอดชีวิตตั้งแต่วันแรกที่ย้ายลงกระถางเป็น ระยะเวลา 14 วัน อัตราการรอดชีวิตคือ 100 เปอร์เซ็นต์ จำนวนเมล็ดทานตะวันพันธุ์ Red Sunflower (RS) ที่ได้จากการผสมพันธุ์เดียวกันได้ทั้งหมด 196 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 24.5 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OLR) ได้ทั้งหมด 490 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 44.55 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์Red sunflower (OS) ได้ทั้งหมด 59 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 14.75 เมล็ดต่อดอก จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการผสมข้าม พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ (BY) ได้ทั้งหมด 68 เมล็ด ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 34.0 เมล็ดต่อดอก หลังจากให้เมล็ดพักตัวเป็นเวลา 2 เดือน ได้ทำการปลูกทดสอบรุ่นที่2 (F2) เพื่อดูลักษณะลูกผสม พบว่า ลูกผสมที่เกิดจากการพันธุ์ RS X RS มีลักษณะดอกมีดอกออกตามข้อใบ ดอกวงนอกมีสีเหลืองแซมด้วยสีส้ม ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X OLR มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีแดงแซมด้วยสีน้ำตาล ดอกวงในสีน้ำตาลเข้ม กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน ก้านดอกยาว ลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ RS X BY มีลักษณะมีดอกออกตามข้อใบ มีดอกใหญ่ ดอกวงนอกมีสีเหลืองสด ดอกวงในสีน้ำตาล กลีบดอกใหญ่ แหลมเป็นกลีบซ้อน มีดอกออกตามข้อใบ จากลูกผสมรุ่นที่2 (F2) ที่ปลูกทดสอบคู่RS X RS และ คู่RS X OLR มีความแตกต่างกันแค่เพียงสีดอก ส่วนคู่RS X BY มีขนาดดอกที่ใกล้เคียงกับต้นแม่ สีเหมือนต้นพ่อ มีลักษณะลำต้นที่คล้ายกันกับต้นแม่ ส่วนสีลำต้นคล้ายกันกับต้นพ่อ การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ ฟอลรอลสไปเรส ไวท์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ การเจริญเติบโต ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ และศึกษาผลของรังแกมมาที่มีต่อการงอกของเมล็ดโหระพาประดับ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design(CRD) แบ่งออกเป็น 3 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 4 ซ้้า (ซ้้าละ 25 ต้น) กรรมวิธีที่ 1 เมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา กรรมวิธีที่ 2 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 500 เกรย์ กรรมวิธีที่ 3 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 600 เกรย์ หลังจากการฉายรังสีแกมมา พบว่าหลังจากการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ และ 3 สัปดาห์ การรอดของเมล็ดลดลงอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมา หลังการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่21.25±1.93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่17.50 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 16.25±0.8 เปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตที่2 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิต เมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่19.50±1.93 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่ 13.25±1.25 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 13.75±0.47 93 เปอร์เซ็นต์ และที่ 3สัปดาห์ หลังการเพาะเมล็ด พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่ 17.00±2.16 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์อยู่ที่ 12.00±1.08 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 12.25±0.85 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมามีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตซึ่งปริมาณรังสีที่สูงเกินไปส่งผลให้โหระพาประดับมีการอัตรารอดชีวิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา(Control) และเก็บข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาของต้นโหระพาประดับที่รอดชีวิต การเจริญเติบโตของต้นโหระพาประดับระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ (120 วันหลังการย้ายปลูก) เปรียบเทียบกับโหระพาพันธุ์ไทย โดยการสุ่มวัดความสูง ความยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวน 10 ต้น ในสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่8 ซึ่งข้อมูล ทั้งหมดจะน้าไปใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงพันธุ์โหระพาต่อไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการรอดชีวิตของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ การเจริญเติบโต ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์ฟอลรอล สไปเรส ไวท์ และศึกษาผลของรังแกมมาที่มีต่อการงอกของเมล็ดโหระพาประดับ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design(CRD) แบ่งออกเป็น 3 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 4 ซ้้า (ซ้้าละ 25 ต้น) กรรมวิธีที่ 1 เมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา กรรมวิธีที่ 2 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 500 เกรย์ กรรมวิธีที่ 3 เมล็ดที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาเฉียบพลันที่ 600 เกรย์ หลังจากการฉายรังสีแกมมา พบว่าหลังจากการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ และ 3 สัปดาห์ การรอดของเมล็ดลดลงอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมา หลังการเพาะเมล็ดที่ 1 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่21.25±1.93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่17.50 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 16.25±0.8 เปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตที่2 สัปดาห์ พบว่า โหระพามีการรอดชีวิต เมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่19.50±1.93 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์ อยู่ที่ 13.25±1.25 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 13.75±0.47 93 เปอร์เซ็นต์ และที่ 3สัปดาห์ หลังการเพาะเมล็ด พบว่า โหระพามีการรอดชีวิตเมล็ดที่ไม่ได้รับการฉายรังสีแกมมา (control) อยู่ที่ 17.00±2.16 93 เปอร์เซ็นต์ ฉายรังสีแกมมา 500 เกรย์อยู่ที่ 12.00±1.08 93 เปอร์เซ็นต์ และ 600 เกรย์ 12.25±0.85 93 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ฉายรังสีแกมมามีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตซึ่งปริมาณรังสีที่สูงเกินไปส่งผลให้โหระพาประดับมีการอัตรารอดชีวิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการฉายรังสีแกมมา(Control) และเก็บข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาของต้นโหระพาประดับที่รอดชีวิต การเจริญเติบโตของต้นโหระพาประดับระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ (120 วันหลังการย้ายปลูก) เปรียบเทียบกับโหระพาพันธุ์ไทย โดยการสุ่มวัดความสูง ความยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวน 10 ต้น ในสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่8 ซึ่งข้อมูล ทั้งหมดจะน้าไปใช้ประโยชน์ ในการปรับปรุงพันธุ์โหระพาต่อไป การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม โดยใช้พิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ที่ได้จากการขยายพันธุ์โดยการปักชา ได้ทาการทดลอง ณ โรงเรือนไม้ดอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2562 การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทาการปักชาพิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 6 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 18 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED6A3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED61B พบว่าหลังจากการปักชา 14 วัน ของพิทูเนียลูกผสมทั้ง 5 เบอร์ พบว่าในการปักชามีเปอร์เซ็นต์การรอดของการปักชาที่ดีที่สุดค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ จานวนดอกในระยะออกดอกเต็มที่ ระยะ 45-50 วัน โดยนับดอกทั้งหมดของการปักชาพิทูเนียลูกผสม พิทูเนียพันธุ์ Petunia hybriba Vilm จานวน 5 เบอร์ พบว่าในพิทูเนียเบอร์18 มีการปักชามีการติดดอกเยอะที่สุด 17 ดอก ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกจานวน 3 ดอก ต่อ 1 ต้น ในระยะที่ดอกบานเต็มที่ (45-50 วัน) โดยพบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดอกเฉลี่ยดอกบานมากที่สุดอยู่ที่ช่วง 5.87 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบจานวน 3 ใบ ต่อ 1 ต้น ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใบมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 2.58 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มทั้ง 5 พันธุ์ ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มมีขนาดเฉี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 14.50 เซนติเมตร มีแนวโน้มในการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อผลผลิตเป็นไม้ดอกกระถางได้ และสามารถนาไปพัฒนาต่อได้ การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม โดยใช้พิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ที่ได้จากการขยายพันธุ์โดยการปักชา ได้ทาการทดลอง ณ โรงเรือนไม้ดอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง เดือนสิงหาคม 2562 การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทาการปักชาพิทูเนีย 5 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 6 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 18 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED6A3 พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ RED61B พบว่าหลังจากการปักชา 14 วัน ของพิทูเนียลูกผสมทั้ง 5 เบอร์ พบว่าในการปักชามีเปอร์เซ็นต์การรอดของการปักชาที่ดีที่สุดค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ จานวนดอกในระยะออกดอกเต็มที่ ระยะ 45-50 วัน โดยนับดอกทั้งหมดของการปักชาพิทูเนียลูกผสม พิทูเนียพันธุ์ Petunia hybriba Vilm จานวน 5 เบอร์ พบว่าในพิทูเนียเบอร์18 มีการปักชามีการติดดอกเยอะที่สุด 17 ดอก ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกจานวน 3 ดอก ต่อ 1 ต้น ในระยะที่ดอกบานเต็มที่ (45-50 วัน) โดยพบว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของดอกเฉลี่ยดอกบานมากที่สุดอยู่ที่ช่วง 5.87 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบจานวน 3 ใบ ต่อ 1 ต้น ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของใบมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 2.58 เซนติเมตร ทาการสุ่มวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มทั้ง 5 พันธุ์ ในระยะ 45-50 วัน หลังปักชา โดยพบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงพุ่มมีขนาดเฉี่ยมากที่สุดอยู่ในช่วง 14.50 เซนติเมตร มีแนวโน้มในการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อผลผลิตเป็นไม้ดอกกระถางได้ และสามารถนาไปพัฒนาต่อได้ การคัดเลือกพันธุ์ผักบุ้งฝรั่งลูกผสมด้วยการผสมตัวเอง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช เพื่อศึกษาลักษณะของพันธ์ลูกผสมมอร์นิ่งกลอรี่โดยวิธีการผสมตัวเองและคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสม ในการนามาเป็นไม้ดอกกระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองพันธุ์มอร์นิ่งกลอรี่ (Ipomoea purpurea L.) จานวน 12 พันธุ์ ทาการปลูกมอร์นิ่งกลอรี่พันธุ์ลูกผสมจากการผสมตัวเอง โดยเพาะเมล็ดในถาดหลุมจานวนพันธุ์ละ 10 ต้น จานวน 3 ซา จากการทดลองพบว่ามีบางพันธุ์ที่เปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์แท้ ลักษณะดอกเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์เดิม โดยมีสีดอกที่เปลี่ยนไปจากสีฟ้าเป็นสีชมพู ทรงต้นและใบไม่เปลี่ยนไปจากเดิม และบางพันธุ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางลักษณะของพันธุ์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีดอกจะเหมือนเดิม ลักษณะต้นและใบไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีบางพันธุ์ที่ผสมแล้วไม่ติดเมล็ด โดยมีการบันทึกลักษณะดังต่อไปนี การผสมดอก สีของกลีบดอก วัดความสูงต้น วัดขนาดดอก และอัตราการเจริญเติบโต เพื่อศึกษาลักษณะของพันธ์ลูกผสมมอร์นิ่งกลอรี่โดยวิธีการผสมตัวเองและคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสม ในการนามาเป็นไม้ดอกกระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองพันธุ์มอร์นิ่งกลอรี่ (Ipomoea purpurea L.) จานวน 12 พันธุ์ ทาการปลูกมอร์นิ่งกลอรี่พันธุ์ลูกผสมจากการผสมตัวเอง โดยเพาะเมล็ดในถาดหลุมจานวนพันธุ์ละ 10 ต้น จานวน 3 ซา จากการทดลองพบว่ามีบางพันธุ์ที่เปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์แท้ ลักษณะดอกเปลี่ยนแปลงไปจากพันธุ์เดิม โดยมีสีดอกที่เปลี่ยนไปจากสีฟ้าเป็นสีชมพู ทรงต้นและใบไม่เปลี่ยนไปจากเดิม และบางพันธุ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางลักษณะของพันธุ์ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีดอกจะเหมือนเดิม ลักษณะต้นและใบไม่มีการเปลี่ยนแปลง และมีบางพันธุ์ที่ผสมแล้วไม่ติดเมล็ด โดยมีการบันทึกลักษณะดังต่อไปนี การผสมดอก สีของกลีบดอก วัดความสูงต้น วัดขนาดดอก และอัตราการเจริญเติบโต การศึกษาลักษณะของพิทูเนียลูกผสม 5 พันธุ์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากการศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอก และศึกษาลักษณะของพันธุ์พิทูเนียลูกผสมโดย วิธีการปักชำ และคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสมในการนำมาเป็นไม้ดอกไม้กระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมี การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองปักชำพิทูเนียลูกผสม จำนวน 5 เบอร์ จำนวนเบอร์ละ 12 ต้น จากการทดลองพบว่า ในการปักชำมีเปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตของการปักชำที่ดีที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 61A และ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 ค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 เท่ากับ 17 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ การติดดอกมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 มีการติดดอก 14 ดอก และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสมเบอร์ 66B2 มีการติดดอก 1 ดอก ทรงพุ่มมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 อยู่ที่ 33.10 เซนติเมตร และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 อยู่ที่ 15.80 เซนติเมตร มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พันธุ์ที่เหมาะสมแก่การนำมาเป็นไม้กระถางมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 เพราะมีอัตราการรอดชีวิตของกิ่งชำสูงที่สุด คือ 33 เปอร์เซ็นต์ และพบว่ามีการให้ดอกสูงที่สุดถึง 14 ดอกต่อต้นและดอกมีขนาดใหญ่สวยงาม ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ย 3.90 เซนติเมตร จากการศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอก และศึกษาลักษณะของพันธุ์พิทูเนียลูกผสมโดย วิธีการปักชำ และคัดเลือกต้นที่มีลักษณะเหมาะสมในการนำมาเป็นไม้ดอกไม้กระถางได้ ทดลองปลูกเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ โดยมี การวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทดลองปักชำพิทูเนียลูกผสม จำนวน 5 เบอร์ จำนวนเบอร์ละ 12 ต้น จากการทดลองพบว่า ในการปักชำมีเปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิตของการปักชำที่ดีที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 61A และ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 ค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 33 เปอร์เซ็นต์ และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 เท่ากับ 17 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ การติดดอกมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 มีการติดดอก 14 ดอก และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสมเบอร์ 66B2 มีการติดดอก 1 ดอก ทรงพุ่มมีขนาดเฉลี่ยมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 อยู่ที่ 33.10 เซนติเมตร และน้อยที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 66B2 อยู่ที่ 15.80 เซนติเมตร มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พันธุ์ที่เหมาะสมแก่การนำมาเป็นไม้กระถางมากที่สุดคือ พันธุ์พิทูเนียลูกผสม เบอร์ 71A2 เพราะมีอัตราการรอดชีวิตของกิ่งชำสูงที่สุด คือ 33 เปอร์เซ็นต์ และพบว่ามีการให้ดอกสูงที่สุดถึง 14 ดอกต่อต้นและดอกมีขนาดใหญ่สวยงาม ดอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เฉลี่ย 3.90 เซนติเมตร ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อการงอกของเมล็ด ของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ปัจจุบันมีการนาเทคนิคการฉายรังสีแกมมาใช้ประโยชน์ในการสร้างความแปรปรวนของฐานพันธุกรรมของพืชให้มีความหลากหลายมากขึ้น จึงนามาทาการศึกษาต่อความงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 0 , 500 และ 600 เกรย์ พบว่าปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทาให้พืชมีเปอร์เซ็นต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4 เมล็ดที่ได้รับการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 500 และ 600 เกรย์ ส่งผลทาให้พืชชะงักการเจิญเติบโตและตายในที่สุด จึงทาการเปรียบเทียบ ระหว่างโหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส กับต้นที่ไม่ได้รับการฉายรังสี (Control) และโหระพาพันธุ์ไทย โดยเปรียบเทียบ ความสูงต้น ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนี้ โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 7.44±0.23 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 11.97±0.39 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 4.80±0.19 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.98±0.14 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.79±0.07 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 2.23±0.11 เซนติเมตร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ปัจจุบันมีการนาเทคนิคการฉายรังสีแกมมาใช้ประโยชน์ในการสร้างความแปรปรวนของฐานพันธุกรรมของพืชให้มีความหลากหลายมากขึ้น จึงนามาทาการศึกษาต่อความงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 0 , 500 และ 600 เกรย์ พบว่าปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทาให้พืชมีเปอร์เซ็นต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่ 4 เมล็ดที่ได้รับการฉายรังสีแกมมาที่ปริมาณรังสี 500 และ 600 เกรย์ ส่งผลทาให้พืชชะงักการเจิญเติบโตและตายในที่สุด จึงทาการเปรียบเทียบ ระหว่างโหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส กับต้นที่ไม่ได้รับการฉายรังสี (Control) และโหระพาพันธุ์ไทย โดยเปรียบเทียบ ความสูงต้น ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ดังนี้ โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 7.44±0.23 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความสูงต้นมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 11.97±0.39 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 4.80±0.19 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความยาวใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.98±0.14 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์เบซิล เอเวอร์ลีฟ เจนโนเวส ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.79±0.07 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทย ความกว้างใบมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 2.23±0.11 เซนติเมตร ผลของรังสีแกมมาต่อความงอกเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และการเจริญเติบโตของโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่อเมล็ดโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ ต่อการงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ พบว่า ปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทำให้พืชมีเปอร์เซนต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่4 เมล็ดที่ได้รับรังสีแกมมาที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด จึงทำการเปรียบเทียบความสูงต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความสูงเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 9.27±0.75เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความสูงเฉลี่ยมากสุดอยู่ที่ 10.12±0.34 เซนติเมตร ความกว้างโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 1.82±0.08 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 2.03±0.12 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.15±0.15 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.83±0.20 เซนติมตร ตามลำดับ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีแกมมาที่มีต่อเมล็ดโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ ต่อการงอกของเมล็ด อัตราการรอดชีวิต และลักษณะสัณฐานวิทยาของโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ โดยฉายรังสีที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ พบว่า ปริมาณรังสีที่สูงขึ้นทำให้พืชมีเปอร์เซนต์การงอก และอัตราการรอดชีวิตลดลง เมื่อเข้าสู่สัปดาห์ที่4 เมล็ดที่ได้รับรังสีแกมมาที่ปริมาณ 500 และ 600 เกรย์ ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด จึงทำการเปรียบเทียบความสูงต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความสูงเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 9.27±0.75เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความสูงเฉลี่ยมากสุดอยู่ที่ 10.12±0.34 เซนติเมตร ความกว้างโหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 1.82±0.08 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด 2.03±0.12 เซนติเมตร โหระพาประดับพันธุ์ฟอลรอลสไปเรส ลาเวนเดอร์ มีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.15±0.15 เซนติเมตร โหระพาพันธุ์ไทยมีความยาวใบเฉลี่ยมากที่สุดอยู่ที่ 3.83±0.20 เซนติมตร ตามลำดับ การปรับปรุงพันธุ์มอร์นิ่งกลอรี่ลูกผสมเพื่อเป็นไม้ดอกกระถาง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของมอร์นิ่งกลอรี่ลูกผสม สาหรับเป็นไม้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของมอร์นิ่งกลอรี่ลูกผสม สาหรับเป็นไม้ ผลของน้ำนาโนบับเบิลต่อปริมาณสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ต้นอ่อนผักบุ้ง กำลังเป็นผักที่ได้รับความนิยมมากในกลุ่มของผู้รักสุขภาพ เนื่องจากผักบุ้งอุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารสูง ซึ่งประกอบไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญที่จำเป็นต่อร่างกาย งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาน้ำนาโนบับเบิลที่มีผลต่อสารสำคัญของต้นอ่อนผักบุ้ง โดยการวางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) จำนวน 10 ซ้ำ โดยวิเคราะห์หาปริมาณคลอโรฟิลล์ น้ำหนักสด น้ำหนักแห้งและค่าไนเตรท ทำการเพาะเมล็ดผักบุ้งจีน รดน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาที รดน้ำวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 50 มิลลิลิตร พบว่า พบว่าการให้น้ำไมโคร/นาโนบับเบิลระยะเวลา 40 นาทีมีผลต่อการงอกของเมล็ด ความยาวของราก และความสูงของต้นมากที่สุด แต่ปริมาณน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาทีไม่มีผลต่อสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง ต้นอ่อนผักบุ้ง กำลังเป็นผักที่ได้รับความนิยมมากในกลุ่มของผู้รักสุขภาพ เนื่องจากผักบุ้งอุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารสูง ซึ่งประกอบไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญที่จำเป็นต่อร่างกาย งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาน้ำนาโนบับเบิลที่มีผลต่อสารสำคัญของต้นอ่อนผักบุ้ง โดยการวางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) จำนวน 10 ซ้ำ โดยวิเคราะห์หาปริมาณคลอโรฟิลล์ น้ำหนักสด น้ำหนักแห้งและค่าไนเตรท ทำการเพาะเมล็ดผักบุ้งจีน รดน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาที รดน้ำวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 50 มิลลิลิตร พบว่า พบว่าการให้น้ำไมโคร/นาโนบับเบิลระยะเวลา 40 นาทีมีผลต่อการงอกของเมล็ด ความยาวของราก และความสูงของต้นมากที่สุด แต่ปริมาณน้ำเปล่าที่ทำฟองอากาศด้วยเครื่องไมโคร/นาโนบับเบิลเป็นเวลา 0 10 20 30 และ 40 นาทีไม่มีผลต่อสารสำคัญในต้นอ่อนผักบุ้ง อิทธิพลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการยืดอายุการวางประดับของต้นปูเล่ประดับ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช จากผลการทดลองใช้สารพาโคลบิวทราโซลที่มีผลต่อการชะลอการเจริญเติบโตของต้นปูเล่ จากผลการทดลองใช้สารพาโคลบิวทราโซลที่มีผลต่อการชะลอการเจริญเติบโตของต้นปูเล่ อิทธิพลของ BA ต่อการชักนาการเกิดต้นของปทุมมาจากหัวเสื่อมสภาพ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มข้นของสารละลาย BA ที่มีความเหมาะสมต่อการงอกของหัวปทุมมาเสื่อมคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ทรีตเมนท์ ทรีตเมนท์ละ 20 ซ้า ดังนี้ 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร บันทึกข้อมูลได้แก่ ผลการเจริญเติบโตของต้นปทุมมา ขนาดของหัวปทุมมาแบบไม่ถอดดอก และแบบถอดดอก จากการทดลองเมื่อนาหัวปทุมมาแช่สาร BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นปทุมมาที่ได้รับสารของ BA ความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม ดังนี้ ด้านความสูงต้นเฉลี่ย 45.70 เซนติเมตร ขนาดลาต้นเฉลี่ย 4.52 เซนติเมตร ความกว้างใบเฉลี่ย 8.84 เซนติเมตร ความยาวใบเฉลี่ย 21.60 เซนติเมตร ความสูงดอกเฉลี่ย 48.78 เซนติเมตร ความกว้างดอกเฉลี่ย 2.56 เซนติเมตร จานวนต้นต่อกอเฉลี่ย 4.80 ต้น และจากการทดลองการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาจากวิธีการถอดดอก และไม่ถอดดอกทิ้ง พบว่าการไม่ถอดดอกปทุมมาในการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาให้ผลดีในความเข้มข้น 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ขนาดหัวเฉลี่ย 19.50 มิลลิเมตร ให้จานวนหัวเฉลี่ย 1.50 หัว ให้จานวนตุ้มสะสมอาหารเฉลี่ย 3.15 ตุ้ม การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มข้นของสารละลาย BA ที่มีความเหมาะสมต่อการงอกของหัวปทุมมาเสื่อมคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ทรีตเมนท์ ทรีตเมนท์ละ 20 ซ้า ดังนี้ 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร บันทึกข้อมูลได้แก่ ผลการเจริญเติบโตของต้นปทุมมา ขนาดของหัวปทุมมาแบบไม่ถอดดอก และแบบถอดดอก จากการทดลองเมื่อนาหัวปทุมมาแช่สาร BA ที่ระดับความเข้มข้น 0, 150, 300, 350 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าต้นปทุมมาที่ได้รับสารของ BA ความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม ดังนี้ ด้านความสูงต้นเฉลี่ย 45.70 เซนติเมตร ขนาดลาต้นเฉลี่ย 4.52 เซนติเมตร ความกว้างใบเฉลี่ย 8.84 เซนติเมตร ความยาวใบเฉลี่ย 21.60 เซนติเมตร ความสูงดอกเฉลี่ย 48.78 เซนติเมตร ความกว้างดอกเฉลี่ย 2.56 เซนติเมตร จานวนต้นต่อกอเฉลี่ย 4.80 ต้น และจากการทดลองการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาจากวิธีการถอดดอก และไม่ถอดดอกทิ้ง พบว่าการไม่ถอดดอกปทุมมาในการเก็บหัวพันธุ์ปทุมมาให้ผลดีในความเข้มข้น 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ขนาดหัวเฉลี่ย 19.50 มิลลิเมตร ให้จานวนหัวเฉลี่ย 1.50 หัว ให้จานวนตุ้มสะสมอาหารเฉลี่ย 3.15 ตุ้ม ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อการงอกของเมล็ด ของโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล สวีท ดานี่ เลม่อน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล สวีท ดานี่ เลม่อน ป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณรังสีที่มีผลต่อเมล็ดโหระพาประดับ พันธุ์เบซิล สวีท ดานี่ เลม่อน ป การปรับปรุงพันธุ์พิทูเนียจากต่างประเทศ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
เนื่องจากพิทูเนียสายพันธุ์ Petunia hybrida Vilm ที่มีสีขาวอมชมพูมีข้อดี คือมีความแข็งแรง สวยงาม ขยายพันธุ์ได้ง่ายโดยการปักชำและไม่สามารถผสมตัวเองได้ ทำให้ดอกทนทานและมีดอกจำนวนมาก จึงมีแนวคิดที่จะผสมกับพันธุ์อื่นๆอีก 1 สายพันธุ์ที่ได้จากการเพาะเมล็ด (ผสมเปิด) เพื่อให้ได้พิทูเนียพันธุ์อื่นมีสีหลากหลายและความแข็งแรงเหมือนสายพันธุ์ Black Berry ที่มีสีม่วงอมดำ ได้ทำการทดลอง ณ โรงเรือนไม้ดอกของคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่าง เดือนสิงหาคม ถึง เดือนพฤษภาคม 2562 โดยการผสมข้ามสายพันธุ์ Petunia hybrida Vilm กับพิทูเนียพันธุ์ Black Berry และผสมตัวเองพบว่าพิทูเนียที่ผสมข้ามมีจำนวนต้นหลังจากการคัดเลือกต้นที่มีความแข็งแรง ขนาดทรงพุ่ม ความหลากหลายสีและความแข็งแรงมากกว่าการผสมตัวเอง โดยสีของคู่ผสมทั้งหมดจะอยู่ในกลุ่มสี Purple, Purple-Violet, Red,Red-Purple และลูกผสมรุ่นที่ 1 เมื่อผสมตัวเองจะติดฝักเกือบทุกต้น และบางครั้งก็มีที่ไม่ติดฝักบ้าง โดยที่ได้รับการผสมติดที่ได้จากต้นสีขาวอมชมพูที่ 1 จำนวน 24 ต้น และต้นขอพันธุ์แบล็คเบอร์รี Black Berry จากคู่ที่ 1 จำนวน 46 ต้น ซึ่งแตกต่างจากพิทูเนียพันธุ์อื่นๆ และสามารถนำไปพัฒนาต่อได้
การทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ ProCut® Horizon | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค๑จัดทำขึ้นเพื่อทดสอบพันธุ๑ทานตะวันพันธุ๑ ProCut® Horizon โดยเพาะเมล็ดจำนวน 120 เมล็ด ชํวงเดือนธันวาคม 2564 ณ คณะเทคโนโลยีเกษตร โดยทำการผสมข๎ามสายพันธุ๑ ทั้งหมด 3 สายพันธุ๑ดังนี้ 1.ทานตะวันพันธุ๑ ProCut® Horizon 2.ทานตะวันพันธุ๑ Red Sunflower 3.ทานตะวันพันธุ๑เหลืองสดดอกใหญํ หลังจากได๎ลักษณะดอกที่พร๎อมผสมเกสร จึงทำการทดลองผสมพันธุ๑ข๎ามทั้งหมด 10 ดอก ได๎ผลการทำลองจริงจำนวน 6 ดอก จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธุ๑เพื่อใช๎ขยายพันธุ๑ตํอ และ จากการทดลองปลูกทานตะวันพันธุ๑ ProCut® Horizon สถานที่ในการทำการทดลอง คือ คณะเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ๑ ในพระบรมราชูปถัมภ๑ วันที่เริ่มทำการทดลองเป็นชํวงวันที่เหมาะสม จากนั้นทำการเก็บอัตราการงอก เปอร๑เซ็นต๑การงอกที่ได๎คือ 94.17 % และ เก็บผลการทดลองอัตราการรอดชีวิต เปอร๑เซ็นต๑อัตราการรอดชีวิต 92.5% เก็บผลการทดลองความสูงทุก 7 วัน สัปดาห๑ที่ 7 มีความสูง 85.29 เซนติเมตร ซึ่งจากการศึกษาการทดลองสัปดาห๑นี้เป็นความสูงที่สูงที่สุดของต๎นทานตะวัน
การทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์บิวตี้มิกซ์ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์บิวตี้มิกซ์ ปลูกทั้งหมดจำนวน 64 ต้น เพื่อทำการทดสอบพันธุ์ทานตะวันพันธุ์บิวตี้มิกซ์โดยการผสมข้ามสายพันธุ์ มีทั้งหมด 3 สายพันธุ์ดังนี้ 1.บิวตี้มิกซ์ 2.Indian Blanket Sunflower 3.Red Sunflower จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธ์ุเพื่อใช้ในขยายพันธุ์ต่อ จากการทดลองปรับปรุงทานตะวันพันธุ์บิวตี้มิกซ์ ณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม 2564 ทำการเก็บอัตราการงอกเปอร์เซ็นต์การงอกที่ได้คือ 53.33 เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้นกล้าทานตะวันอายุ 14 วัน ทำการย้ายลงปลูกในกระถางขนาด 12 นิ้ว โดยอัตราการรอดชีวิตตั้งแต่วันแรกที่ยายลงกระถางเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ อัตราการรอดชีวิตคือ 9.17 เปอร์เซ็นต์ จำนวนเมล็ดทานตะวันที่ได้จากการปรับปรุงพันธุ์โดยการผสมข้ามทั้งหมด 11 ดอก รวมทั้งหมดคือ 263 เมล็ด
การปรับปรุงพันธุ์ทานตะวันพันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะต้นของทานตะวัน และการติดเมล็ดของลูกผสมทานตะวันพันธุ์ “เหลืองสดดอกใหญ่” โดยเพาะเมล็ดจำนวน 44 เมล็ด เพื่อทำการปรับปรุงพันธุ์ทานตะวันพันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ โดยการผสมข้ามสายพันธุ์ มีทั้งหมด 3 สายพันธุ์ดังนี้ 1.Indian Sunflower 2.Red Sunflower 3.ทานตะวันพันธุ์ “เหลืองสดดอกใหญ่” จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธุ์เพื่อใช้ขยายพันธุ์ต่อ จากการทอลองปลูกทานตะวันพันธุ์ “เหลืองสดดอกใหญ่” ทำการทดลอง ณ คณะเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยเพาะเมล็ดทานตะวัน “พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่” ตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม 2564 เมื่อต้นกล้าทานตะวันมีอายุครบ 14 วัน ทำการย้ายลงปลูก จากนั้นทำการเก็บอัตราการงอก เปอร์เซ็นต์การงอกที่ได้คือ 84.10% จากนั้นนำต้นกล้าทานตะวันที่เพาะไว้ลงปลูกในกระถางขนาด 12 นิ้ว โดยดูอัตราการรอดชีวิตตั้งแต่วันแรกที่ย้ายลงกระถางเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ มีอัตราการรอดชีวิตคือ 84.10% และศึกษาลักษณะพันธุ์ทานตะวัน“พันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่” โดยพบว่า ลักษณะต้นอ่อนของทานตะวันพันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ บริเวณลำต้นจะมีสีเขียวอ่อน ต้นโตเต็มที่บริเวณลำต้นมีสีเขียว ใบ มีลักษณะใบเป็นรูปรีค่อนข้างกลม เป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลม โคนใบมนเว้าเป็นรูปหัวใจ ส่วนขอบใบจักเป็นซี่ฟัน ดอก เป็นดอกเดี่ยว ออกดอกที่ปลายยอด ดอกเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ ดอกมีขนาดใหญ่มีสีเหลือง วัดด้วย R.H.S. Colour Chart สี Yellow Group 9A มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกเฉลี่ย 19.4 เซนติเมตร มีกลีบดอกเป็นจำนวนมากเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ กลีบดอกมีลักษณะรียาว ปลายกลีบดอกแหลมมีสี Yellow Group 9A หลังจากทำการเก็บเมล็ดจากการปลูกผสมครั้งแรก นำเมล็ดมาปลูก ทดสอบเพื่อดูลักษณะที่ทำการผสมพบว่า มีลักษณะที่แตกต่างจากรุ่นก่อน คือ ต้นโตเต็มที่บริเวณลำต้นมีสีเขียว ใบมีลักษณะเป็นรูปรีค่อนข้างกลม เป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลม โคนใบมนเว้าเป็นรูปหัวใจ ส่วนขอบใบจักเป็นซี่ฟัน ดอกที่พบมี 2 ลักษณะ คือ 1. ดอกเดี่ยว ออกดอกที่บริเวณปลายยอด 2. ดอกช่อ มีดอกออกบริเวณปลายยอด 2-3 ดอก ดอกเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ มีขนาดดอกเฉลี่ย 13.11 เซนติเมตร สีของดอกวัดด้วย R.H.S. Colour Chart สีที่พบมี 3 ลักษณะ คือ 1. สี Greyed-Orange Group 175A 2. Greyed-Orange Group 175C และ 3. Yellow-Orange Group 17B
การปรับปรุงพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ Indian Blanket Sunflower | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ “Indian Blanket Sunflower” โดยเพาะเมล็ดจำนวน 100 เมล็ด เพื่อทำการปรับปรุงพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ Indian Blanket Sunflower โดยการผสมข้ามสายพันธุ์ มีทั้งหมด 4 สายพันธุ์ดังนี้ 1.“Indian Blanket Sunflower” 2.Indian Sunflower 3.Red Sunflower 4.ทานตะวันพันธุ์เหลืองสดดอกใหญ่ จากนั้นทำการเก็บเมล็ดพันธ์ุเพื่อใช้ขยายพันธุ์ต่อ จากการทดลองปลูกทานตะวันพันธุ์ “Indian Blanket Sunflower” ทำการทดลอง ณ คณะเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยเพาะเมล็ดทานตะวัน “พันธุ์ Indian Blanket Sunflower” ตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม 2564 เมื่อต้นกล้าทานตะวันมีอายุครบ 14 วัน ทำการย้ายลงปลูก จากนั้นทำการเก็บอัตราการงอก เปอร์เซ็นต์การงอกที่ได้คือ 96% จากนั้นนำต้นกล้าทานตะวันที่เพาะไว้ลงปลูกในกระถางขนาด 12 นิ้ว โดยดูอัตราการรอดชีวิตตั้งแต่วันแรกที่ย้ายลงกระถางเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ มีอัตราการรอดชีวิตคือ 96% และศึกษาลักษณะพันธุ์ทานตะวัน“Indian Blanket Sunflower” โดยพบว่าลักษณะของต้นทานตะวัน บริเวณลำต้นจะมีสีเขียวอ่อนและบ้างต้นมีสีน้ำตาล ต้นโตเต็มที่บริเวณลำต้นมีสีเขียวและสีน้ำตาล มีลักษณะใบแหลม โคนใบเรียบ ๆ ส่วนขอบใบเรียวตรง มีหลายดอกเดี่ยว ออกดอกที่ปลายยอด ข้อตาหรือออกเป็นช่อตรงใกล้กับดอกหลัก ดอกเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ ดอกมีขนาดกลางๆ เป็นสีเหลืองเข้ม สีเหลืองสว่าง มีส้มตรงโคนใบอ่อนๆจนเกือบถึงปลายสีเหลืองตรงปลายใบ สีเหลืองปนส้มอ่อนๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางดอกเฉลี่ย 13.29 เซนติเมตร กลีบดอกเรียงกัน กลีบดอกมีลักษณะรียาว ปลายกลีบดอกแหลมเป็นสีเหลืองสด หลังจากเก็บเมล็ดจากการปรับปรุงพันธุ์ นำเมล็ดมาปลูกดูลักษณะของดอกได้ลักษณะดังนี้ ลักษณะกลีบดอกเรียงซ้อนกัน การวัดสีดอกโดยใช้ R.H.S Colour chart Greyed-o=Orange Group 172 ,Yellow-Orange Group 23 สีดอกมี 2 เฉดสี 1.กลีบดอกเรียงซ้อนกันสีส้มอิดอมแดงปรายใบส้มอมเหลือง 2.กลีบดอกเรียงซ้อนกันโคนใบสีเหลืองกลางใบส้มอิดปรายใบอมเหลือง ลักษณะบริเวณลำต้นจะมีสีเขียวอ่อนและบ้างต้นมีสีน้ำตาล ต้นโตเต็มที่บริเวณลำต้นมีสีเขียวและสีน้ำตาล มีลักษณะใบแหลม โคนใบเรียบ ๆ ส่วนขอบใบเรียวตรง มีหลายดอกเดี่ยว ออกดอกที่ปลายยอด ข้อตาหรือออกเป็นช่อตรงใกล้กับดอกหลัก ดอกเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ
ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพผลผลิตเมล่อนสายพันธุ์กรีนเน็ท | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบอิทธิพลของปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ ในเมล่อนสายพันธุ์กรีนเน็ทเพื่อการผลิตเมล่อนภายใต้โรงเรือนภายใต้อุณหภูมิสูง จานวน 5 สูตรดังนี้ ชุดควบคุมสารละลาย A,Bและ ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ที่แตกต่างกัน 300, 325, 350และ 375 กรัม ณ โรงเรือน เมล่อน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จานวน 10 ซ้า บันทึกข้อมูลได้แก่ ความสูงต้น จานวนใบ ขนาดใบ เส้นผ่านศูนย์กลางต้น ค่าความเขียวใบ(SPAD) น้าหนักผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหนาเนื้อ ความหนาเปลือก ความแน่นเนื้อ ปริมาตรกรดในเนื้อเมล่อน ความหวาน สีเนื้อ และสีเปลือก จากการทดลองพบว่า ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ 375 กรัมมีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและให้คุณภาพผลผลิตที่ดี ดังนี้ ความสูงต้น 125.50 เซนติเมตร จานวนใบ 32.50 ใบ ความกว้างใบ 17.00 เซนติเมตร ความยาวใบ 11.70 เซนติเมตร ค่าความเขียวใบ SPAD 50.06 น้าหนักผล 0.76 กิโลกรัม ความกว้างผล 18.53 เซนติเมตร ความยาวผล 37.71 เซนติเมตร ความแน่นเนื้อ 576.53 ความหวาน 10.70 บริกซ์
|