อิทธิพลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว 3 พันธุ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของอิทธิพลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ต่อการงอกของเมล็ดข้าว 3 พันธุ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ท้า 4 ซ้า โดยเปรียบเทียบระหว่างเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก และระดับความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่แตกต่าง 5 ระดับ (0, 50, 100, 150 และ 200 ppm.) น้าเมล็ดไปวางในกล่องทดลองโดยวิธี Top of paper รดน้าเมล็ดด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ในการทดลอง จากการทดลองพบว่า ข้าวขาวดอกมะลิ 105 (เมล็ดแห้ง) มีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสูดที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. เท่ากับ 93.00 % แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับที่ระดับ 50, 100 และ 150 ppm. และเมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก พบว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์การงอกเป็นต้นกล้าปกติที่สูงกว่าเมล็ดแห้ง เมื่อพิจารณาความเร็วในการงอกเมล็ดแห้งจะมีความเร็วในการงอกสูงสุดที่ระดับความเข้ม 0 ppm. ส่วนต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั น เมล็ดงอกจะมีความเร็วในการงอกที่สูงกว่าที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. และมากกว่าที่ระดับ 50 และ 100 ppm. ตามล้าดับ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนผลการทดลองของข้าวหอมนิล พบว่าเมล็ดแห้งของข้าวหอมนิลมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกจะเห็นได้ว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกเป็นต้นกล้าปกติสูงกว่าเมล็ดแห้งและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเช่นกัน ส่วนเมล็ดแห้งมีความเร็วในการงอกที่ระดับความเข้มข้นต่างกันซึ่งไม่แตกต่างกันแต่มีความเร็วสูงสุดที่ 0 ppm. เมื่อพิจารณาผลการทดลองของข้าวสุพรรณบุรี 1 เมล็ดแห้งมีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้นที่ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั นทั งสองมีเปอร์เซ็นการงอกที่ไม่แตกต่างกันแต่เมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเมล็ดแห้ง ส่วนของความเร็วในการงอกในเมล็ดแห้งมีความเร็วสูงสุดที่ 18.79 ดังนั นสามารถสรุปได้ว่าข้าวทั ง 3 พันธุ์ สามารถงอกได้ดีในระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. แต่ที่ความเข้มข้นตั งแต่ 100 การศึกษาผลของอิทธิพลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ต่อการงอกของเมล็ดข้าว 3 พันธุ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ท้า 4 ซ้า โดยเปรียบเทียบระหว่างเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก และระดับความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่แตกต่าง 5 ระดับ (0, 50, 100, 150 และ 200 ppm.) น้าเมล็ดไปวางในกล่องทดลองโดยวิธี Top of paper รดน้าเมล็ดด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ในการทดลอง จากการทดลองพบว่า ข้าวขาวดอกมะลิ 105 (เมล็ดแห้ง) มีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสูดที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. เท่ากับ 93.00 % แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับที่ระดับ 50, 100 และ 150 ppm. และเมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอก พบว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์การงอกเป็นต้นกล้าปกติที่สูงกว่าเมล็ดแห้ง เมื่อพิจารณาความเร็วในการงอกเมล็ดแห้งจะมีความเร็วในการงอกสูงสุดที่ระดับความเข้ม 0 ppm. ส่วนต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั น เมล็ดงอกจะมีความเร็วในการงอกที่สูงกว่าที่ระดับความเข้มข้น 0 ppm. และมากกว่าที่ระดับ 50 และ 100 ppm. ตามล้าดับ แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนผลการทดลองของข้าวหอมนิล พบว่าเมล็ดแห้งของข้าวหอมนิลมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกจะเห็นได้ว่าเมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกเป็นต้นกล้าปกติสูงกว่าเมล็ดแห้งและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเช่นกัน ส่วนเมล็ดแห้งมีความเร็วในการงอกที่ระดับความเข้มข้นต่างกันซึ่งไม่แตกต่างกันแต่มีความเร็วสูงสุดที่ 0 ppm. เมื่อพิจารณาผลการทดลองของข้าวสุพรรณบุรี 1 เมล็ดแห้งมีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุดที่ระดับความเข้มข้นที่ 50 ppm. เมื่อเปรียบเทียบต้นกล้าปกติของเมล็ดแห้งและเมล็ดงอกนั นทั งสองมีเปอร์เซ็นการงอกที่ไม่แตกต่างกันแต่เมล็ดงอกมีเปอร์เซ็นต์ในการงอกและมีความเร็วในการงอกสูงกว่าเมล็ดแห้ง ส่วนของความเร็วในการงอกในเมล็ดแห้งมีความเร็วสูงสุดที่ 18.79 ดังนั นสามารถสรุปได้ว่าข้าวทั ง 3 พันธุ์ สามารถงอกได้ดีในระดับความเข้มข้น 0 และ 50 ppm. แต่ที่ความเข้มข้นตั งแต่ 100 ศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ้า มีวิธีทาลายการพักตัว 4 วิธี ได้แก่ 1) การตัดปลายเมล็ด, 2) การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย, 3) แช่เมล็ดในน้าร้อน 1 นาที และ 4) แช่เมล็ดในกรดไนตริก 1 นาที แล้วจึงนาไปเพาะในวัสดุเพาะเมล็ด จากการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 48 และ 28 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วในการงอก พบว่า เมล็ดที่ทาลายการพักตัวด้วยการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความเร็วในการงอกเท่ากับ 1.24 และ 0.91 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสูงของต้นกล้าบวบงู พบว่า การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 20. 4 เซนติเมตร รองลงมา การตัดปลายเมล็ดมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 19.29 เซนติเมตร สาหรับอีก 2 วิธี เมล็ดบวบงูไม่สามารถงอกได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับศูนย์ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาการทาลายการพักตัวของเมล็ดพันธุ์บวบงู โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ้า มีวิธีทาลายการพักตัว 4 วิธี ได้แก่ 1) การตัดปลายเมล็ด, 2) การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย, 3) แช่เมล็ดในน้าร้อน 1 นาที และ 4) แช่เมล็ดในกรดไนตริก 1 นาที แล้วจึงนาไปเพาะในวัสดุเพาะเมล็ด จากการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทราย มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 48 และ 28 เปอร์เซ็นต์ และความเร็วในการงอก พบว่า เมล็ดที่ทาลายการพักตัวด้วยการตัดปลายเมล็ดและการขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความเร็วในการงอกเท่ากับ 1.24 และ 0.91 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสูงของต้นกล้าบวบงู พบว่า การขัดเมล็ดด้วยกระดาษทรายมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 20. 4 เซนติเมตร รองลงมา การตัดปลายเมล็ดมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 19.29 เซนติเมตร สาหรับอีก 2 วิธี เมล็ดบวบงูไม่สามารถงอกได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับศูนย์ ผลของความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่มีต่อคุณภาพเมล็ดข้าวพันธุ์กข69 ที่เก็บรักษาในอุณหภูมิห้อง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของความชื้นของเมล็ดพันธุ์และระยะเวลาในการเก็บรักษาที่มีผลต่อคุณภาพของเมล็ดข้าวพันธุ์กข69 (ข้าวทับทิมชุมแพ) โดยวางแผนการทดลองแบบ Factorial in CRD ท้า 3 ซ้้า ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ 1.ระดับความชื้นของเมล็ดพันธุ์ข้าวที่แตกต่างกัน 3 ระดับ คือ 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ 2.ระยะเวลาในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว เป็นระยะเวลานาน 6 เดือน คือ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เดือน โดยเก็บไว้ในถุงสูญญากาศในอุณหภูมิห้อง ในแต่ละเดือนน้ามาทดสอบเปอร์เซ็นต์ ความงอก ดัชนีในการงอกและระยะเวลาเฉลี่ยในการงอกของเมล็ดพันธุ์ ผลการทดลอง พบว่า เมล็ดข้าวพันธุ์กข69 (ข้าวทับทิมชุมแพ) ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน 6 เดือน พบว่า มีความชื้นเปลี่ยนไปเท่ากับ 11.68, 12.64 และ 14.75 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเปอร์เซ็นต์ความงอก พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน 6 เดือน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเฉลี่ยสูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 89.44, 66.22 และ 55.05 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ ส้าหรับดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีดัชนีในการงอกที่สูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 18.54, 14.11 และ 12.86 ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเวลาเฉลี่ยในการงอก พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีเวลาเฉลี่ยในการงอกสั้นกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ คือ 4.61, 4.98 และ 5.07 ตามล้าดับ ซึ่งจากการศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่า ความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่ต่้าและระยะเวลาในการเก็บรักษามีผลต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ การศึกษาผลของความชื้นของเมล็ดพันธุ์และระยะเวลาในการเก็บรักษาที่มีผลต่อคุณภาพของเมล็ดข้าวพันธุ์กข69 (ข้าวทับทิมชุมแพ) โดยวางแผนการทดลองแบบ Factorial in CRD ท้า 3 ซ้้า ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ 1.ระดับความชื้นของเมล็ดพันธุ์ข้าวที่แตกต่างกัน 3 ระดับ คือ 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ 2.ระยะเวลาในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว เป็นระยะเวลานาน 6 เดือน คือ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เดือน โดยเก็บไว้ในถุงสูญญากาศในอุณหภูมิห้อง ในแต่ละเดือนน้ามาทดสอบเปอร์เซ็นต์ ความงอก ดัชนีในการงอกและระยะเวลาเฉลี่ยในการงอกของเมล็ดพันธุ์ ผลการทดลอง พบว่า เมล็ดข้าวพันธุ์กข69 (ข้าวทับทิมชุมแพ) ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน 6 เดือน พบว่า มีความชื้นเปลี่ยนไปเท่ากับ 11.68, 12.64 และ 14.75 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเปอร์เซ็นต์ความงอก พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน 6 เดือน มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเฉลี่ยสูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 89.44, 66.22 และ 55.05 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ ส้าหรับดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีดัชนีในการงอกที่สูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 18.54, 14.11 และ 12.86 ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเวลาเฉลี่ยในการงอก พบว่า เมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีเวลาเฉลี่ยในการงอกสั้นกว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้น 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ คือ 4.61, 4.98 และ 5.07 ตามล้าดับ ซึ่งจากการศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่า ความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่ต่้าและระยะเวลาในการเก็บรักษามีผลต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ อิทธิพลของขนาดพื้นที่ใบต่อผลผลิตแตงเทศ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบอิทธิพลของพื้นที่ใบที่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศพันธุ์กาเลีย ณ โรงเรือนตาข่าย รัตนสุขฟาร์ม ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ถึง วันที่ 2 กันยายน 2560 โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 3 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 6 ซ้้า คือ 0.8 1.0 และ 1.2 ตารางเมตร โดยท้าการเก็บข้อมูลดังต่อไปนี้คือ น้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหนาเนื้อและ ความหวาน (ºbrix) จากการทดลองพบว่า ความหนาเนื้อมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ส้าหรับน้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหวาน (ºbrix) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) อย่างไรก็ตามการไว้พื้นที่ใบไม่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศ แต่มีแนวโน้มการไว้พื้นที่ใบที่ 0.8 ตารางเมตร ให้น้้าหนักผลเฉลี่ยสูงสุด 2076.90 กรัม ให้เปอร์เซ็นต์ความหนาเนื้อของแตงเทศทั้ง 4 ด้านได้แก่ ความหนาด้านบน ความหนาด้านล่าง ความหนาด้านขวา และความหนาด้านซ้าย เท่ากับ 3.13, 3.29, 4.62 และ 4.56 ตามล้าดับ และให้ความหวานเฉลี่ยสูงสุด คือ 10.33 (ºbrix) การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบอิทธิพลของพื้นที่ใบที่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศพันธุ์กาเลีย ณ โรงเรือนตาข่าย รัตนสุขฟาร์ม ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ถึง วันที่ 2 กันยายน 2560 โดยมีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 3 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 6 ซ้้า คือ 0.8 1.0 และ 1.2 ตารางเมตร โดยท้าการเก็บข้อมูลดังต่อไปนี้คือ น้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหนาเนื้อและ ความหวาน (ºbrix) จากการทดลองพบว่า ความหนาเนื้อมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ส้าหรับน้้าหนักผล เส้นรอบผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหวาน (ºbrix) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) อย่างไรก็ตามการไว้พื้นที่ใบไม่มีผลต่อผลผลิตแตงเทศ แต่มีแนวโน้มการไว้พื้นที่ใบที่ 0.8 ตารางเมตร ให้น้้าหนักผลเฉลี่ยสูงสุด 2076.90 กรัม ให้เปอร์เซ็นต์ความหนาเนื้อของแตงเทศทั้ง 4 ด้านได้แก่ ความหนาด้านบน ความหนาด้านล่าง ความหนาด้านขวา และความหนาด้านซ้าย เท่ากับ 3.13, 3.29, 4.62 และ 4.56 ตามล้าดับ และให้ความหวานเฉลี่ยสูงสุด คือ 10.33 (ºbrix) ผลของปริมาณน้าที่แช่เมล็ดต่อการงอกของเมล็ดข้าวพันธุ์อยุธยา1 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณน้้าที่แช่เมล็ดต่อการงอกยอดและรากของข้าวพันธุ์อยุธยา1 โดยมีการวางแผนการทดลอง แบบ Factorial in CRD มี 2 ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า คือ แช่เมล็ดข้าวโดยเติมน้้า 50 มิลลิลิตร และ 100 มิลลิลิตร เก็บข้อมูลดังต่อไปนี้ วัดความยาวยอด และ วัดความยาวราก ทุกๆวัน จนครบ 7 วัน จากผลทดสอบพบว่า มีความยาวยอดที่ปริมาณน้้า 50 มิลลิลิตร และ 100 มิลลิลิตร พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ส้าหรับความยาวราก ที่ปริมาณน้้า 50 มิลลิลิตร และ 100 มิลลิลิตรพบว่ามีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ โดยที่ปริมาณน้้า 50 มิลลิลิตร มีความยาวรากเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.79 เซนติเมตร และเมื่อพิจารณาปฎิสัมพันธ์ของน้้าและระยะเวลาในการแช่น้้าของเมล็ดพบว่า ที่ปริมาณ 50 มิลลิลิตร และระยะเวลาการแช่น้้า 7 วัน ท้าให้มีความยาวยอดเฉลี่ยเท่ากับ 6.06 เซนติเมตร และความยาวรากเฉลี่ย 4.79 เซนติเมตร โดยมีความยาวยอดและความยาวรากสูงที่สุด การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณน้้าที่แช่เมล็ดต่อการงอกยอดและรากของข้าวพันธุ์อยุธยา1 โดยมีการวางแผนการทดลอง แบบ Factorial in CRD มี 2 ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า คือ แช่เมล็ดข้าวโดยเติมน้้า 50 มิลลิลิตร และ 100 มิลลิลิตร เก็บข้อมูลดังต่อไปนี้ วัดความยาวยอด และ วัดความยาวราก ทุกๆวัน จนครบ 7 วัน จากผลทดสอบพบว่า มีความยาวยอดที่ปริมาณน้้า 50 มิลลิลิตร และ 100 มิลลิลิตร พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ ส้าหรับความยาวราก ที่ปริมาณน้้า 50 มิลลิลิตร และ 100 มิลลิลิตรพบว่ามีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ โดยที่ปริมาณน้้า 50 มิลลิลิตร มีความยาวรากเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.79 เซนติเมตร และเมื่อพิจารณาปฎิสัมพันธ์ของน้้าและระยะเวลาในการแช่น้้าของเมล็ดพบว่า ที่ปริมาณ 50 มิลลิลิตร และระยะเวลาการแช่น้้า 7 วัน ท้าให้มีความยาวยอดเฉลี่ยเท่ากับ 6.06 เซนติเมตร และความยาวรากเฉลี่ย 4.79 เซนติเมตร โดยมีความยาวยอดและความยาวรากสูงที่สุด การเปรียบเทียบคุณภาพของผลผลิตแตงเทศ 3 พันธุ์ ที่ปลูกในประเทศไทย | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพผลผลิตแตงเทศ 3 พันธุ์ ที่ปลูกในประเทศไทย ท่าการปลูกทดลองที่อ่าเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 3 ทรีทเมนต์ คือ พันธุ์แตงเทศ 3 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ Hokkaido King, Happy Sweet และ Sun Sweet โดยท่าการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโต 7 ลักษณะ คือ เส้นรอบวง ความยาวผล น้่าหนักผล ความหนาเนื้อและความหนาเปลือก ไส้ในผล ความยาวขั้ว และความหวาน จากการทดลองพบว่า พันธุ์ Hokkaido King มีเส้นรอบวง ความยาวผล น้่าหนักผล ความหนาเนื้อประกอบด้วย ความหนาเนื้อด้านขวา ความหนาเนื้อซ้าย ความหนาเนื้อด้านล่าง สูงสุดและสูงกว่า 2 พันธุ์ ที่เปรียบเทียบกันแตกต่างอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติ โดยมีค่าเท่ากัน 54.45 เซนติเมตร 27.80 เซนติเมตร 2.58 กิโลกรัม 4.36 เซนติเมตร 4.44 เซนติเมตร และ 3.02 เซนติเมตร ตามล่าดับ ส่วนความหนาเนื้อด้านบนไม่แตกต่างทางสถิติ พันธุ์ Happy Sweet มีความหนาเปลือกบาง และความหวาน ดีที่สุดและดีกว่า 2 พันธุ์ ที่มาเปรียบเทียบกันแตกต่างอย่างมีนัยส่าค่ญทางสถิติ โดยมีค่าเท่ากับ 0.36 เซนติเมตร และ 10.25 °brix ตามล่าดับ ความยาวขั้วของแตงเทศทั้ง 3 สายพันธุ์ ที่มาเปรียบเทียบไม่แตกต่างกันทางสิถิติ พันธุ์ Sun Sweet มีความกว้างและความยาวใส้ในดีที่สุดและดีกว่า 2 พันธุ์ ที่เปรียบเทียบกันแตกต่างอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติ โดยมีค่าเท่ากับ 14.53 เซนติเมตร และ 14.71 เซนติเมตร ตามล่าดับ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพผลผลิตแตงเทศ 3 พันธุ์ ที่ปลูกในประเทศไทย ท่าการปลูกทดลองที่อ่าเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้วย 3 ทรีทเมนต์ คือ พันธุ์แตงเทศ 3 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ Hokkaido King, Happy Sweet และ Sun Sweet โดยท่าการเก็บข้อมูลการเจริญเติบโต 7 ลักษณะ คือ เส้นรอบวง ความยาวผล น้่าหนักผล ความหนาเนื้อและความหนาเปลือก ไส้ในผล ความยาวขั้ว และความหวาน จากการทดลองพบว่า พันธุ์ Hokkaido King มีเส้นรอบวง ความยาวผล น้่าหนักผล ความหนาเนื้อประกอบด้วย ความหนาเนื้อด้านขวา ความหนาเนื้อซ้าย ความหนาเนื้อด้านล่าง สูงสุดและสูงกว่า 2 พันธุ์ ที่เปรียบเทียบกันแตกต่างอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติ โดยมีค่าเท่ากัน 54.45 เซนติเมตร 27.80 เซนติเมตร 2.58 กิโลกรัม 4.36 เซนติเมตร 4.44 เซนติเมตร และ 3.02 เซนติเมตร ตามล่าดับ ส่วนความหนาเนื้อด้านบนไม่แตกต่างทางสถิติ พันธุ์ Happy Sweet มีความหนาเปลือกบาง และความหวาน ดีที่สุดและดีกว่า 2 พันธุ์ ที่มาเปรียบเทียบกันแตกต่างอย่างมีนัยส่าค่ญทางสถิติ โดยมีค่าเท่ากับ 0.36 เซนติเมตร และ 10.25 °brix ตามล่าดับ ความยาวขั้วของแตงเทศทั้ง 3 สายพันธุ์ ที่มาเปรียบเทียบไม่แตกต่างกันทางสิถิติ พันธุ์ Sun Sweet มีความกว้างและความยาวใส้ในดีที่สุดและดีกว่า 2 พันธุ์ ที่เปรียบเทียบกันแตกต่างอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติ โดยมีค่าเท่ากับ 14.53 เซนติเมตร และ 14.71 เซนติเมตร ตามล่าดับ ผลของการตัดเปลือกเมล็ดและการใช้สาร Gibberellin (GA3) ต่อการงอกและการเจริญเติบโตของบวบหอม | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทาลายการการพักตัวของบวบหอมร่วมกับการใช้สารจิบเบอเรลลิน (Gibberellin (GA3)) ในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน โดยนาเมล็ดบวบหอมที่ตัดเปลือกเมล็ดแล้วแช่สาร GA ความเข้มข้น 0, 50, 100 และ 200 ppm ในภาชนะทึบแสง เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนาไปเพาะในถาดหลุมที่ใช้พีทมอสเป็นวัสดุปลูกพร้อมกับเมล็ดบวบหอมที่ไม่ได้ตัดเปลือกเมล็ดและไม่แช่สาร Gibberellin (GA3) ( ชุดควบคุม ) เพาะเมล็ดเป็นเวลา 14 วัน โดยเก็บข้อมูลทุกวันเพื่อหาเปอร์เซ็นต์ความงอก , ความเร็วในการงอก และความสูงของต้นกล้า ผลการทดลองพบว่า วิธีตัดเปลือกเมล็ดร่วมกับแช่สาร Gibberellin (GA3) ที่ระดับความเข้มข้น 100 ppm เป็นวิธีทาลายการพักตัวที่เหมาะสมที่สุด มีเปอร์เซ็นต์การงอกเท่ากับ 98% ความเร็วในการงอกเท่ากับ 7.48 และความสูงของต้นกล้าเฉลี่ยเท่ากับ 24.40 เซนติเมตร การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทาลายการการพักตัวของบวบหอมร่วมกับการใช้สารจิบเบอเรลลิน (Gibberellin (GA3)) ในระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน โดยนาเมล็ดบวบหอมที่ตัดเปลือกเมล็ดแล้วแช่สาร GA ความเข้มข้น 0, 50, 100 และ 200 ppm ในภาชนะทึบแสง เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วนาไปเพาะในถาดหลุมที่ใช้พีทมอสเป็นวัสดุปลูกพร้อมกับเมล็ดบวบหอมที่ไม่ได้ตัดเปลือกเมล็ดและไม่แช่สาร Gibberellin (GA3) ( ชุดควบคุม ) เพาะเมล็ดเป็นเวลา 14 วัน โดยเก็บข้อมูลทุกวันเพื่อหาเปอร์เซ็นต์ความงอก , ความเร็วในการงอก และความสูงของต้นกล้า ผลการทดลองพบว่า วิธีตัดเปลือกเมล็ดร่วมกับแช่สาร Gibberellin (GA3) ที่ระดับความเข้มข้น 100 ppm เป็นวิธีทาลายการพักตัวที่เหมาะสมที่สุด มีเปอร์เซ็นต์การงอกเท่ากับ 98% ความเร็วในการงอกเท่ากับ 7.48 และความสูงของต้นกล้าเฉลี่ยเท่ากับ 24.40 เซนติเมตร ผลของความชื้นเมล็ดพันธุ์และระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวกข69 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช การศึกษาผลของความชื้นเมล็ดพันธุ์และระยะเวลาในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์กข69 โดยวางแผนการทดลองแบบ 3×6 Factorial in CRD ท้า 3 ซ้้า ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ปัจจัยแรกระดับความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่แตกต่าง 3 ระดับ ได้แก่ 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ ปัจจัยที่ 2 คือระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เดือน โดยเก็บ ในถุงสุญญากาศในตู้ควบคุมอุณภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส ท้าการทดสอบความชื้นของเมล็ดพันธุ์ เปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์ ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ และเวลาเฉลี่ยในการงอก ในทุกๆเดือน ผลการทดลองพบว่า เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีความชื้นเริ่มต้นแตกต่างกันเมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน มีผลท้าให้มีเปอร์เซ็นต์ความชื้นเพิ่มขึ้นโดยเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้นที่ 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาระยะเวลานาน 6 เดือนจะมีความชื้นเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ 10.44, 12.45 และ 14.90 เปอร์เซ็นต์ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเปอร์เซ็นต์ความงอกพบว่าเมล็ดข้าวที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 6 เดือนมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเฉลี่ยสูงกว่าเมล็ดที่มีความชื้นเริ่มต้น 14 เปอร์เซ็นต์ คือ 91.44 และ 88.06 เปอร์เซ็นต์ตามล้าดับ ส้าหรับดัชนีการงอกของเมล็ดพบว่าเมล็ดข้าวที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีดัชนีการงอกเฉลี่ยสูงกว่าเมล็ดที่มีความชื้นเริ่มต้น 14 เปอร์เซ็นต์ คือ 18.22 และ 16.89 ตามล้าดับ ส้าหรับเวลาเฉลี่ยในการงอกผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นต่้าให้เวลางอกเฉลี่ยน้อยกว่าเมล็ดที่มีปริมาณความชื้นสูง เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 6 เดือน แสดงให้เห็นว่าความชื้นเมล็ดเริ่มต้นมีอิทธิพลต่อคุณภาพของเมล็ดหลังจากเก็บรักษาเป็นเวลานาน การศึกษาผลของความชื้นเมล็ดพันธุ์และระยะเวลาในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์กข69 โดยวางแผนการทดลองแบบ 3×6 Factorial in CRD ท้า 3 ซ้้า ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ปัจจัยแรกระดับความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่แตกต่าง 3 ระดับ ได้แก่ 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ ปัจจัยที่ 2 คือระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เดือน โดยเก็บ ในถุงสุญญากาศในตู้ควบคุมอุณภูมิ 4±1 องศาเซลเซียส ท้าการทดสอบความชื้นของเมล็ดพันธุ์ เปอร์เซ็นต์ความงอกของเมล็ดพันธุ์ ดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์ และเวลาเฉลี่ยในการงอก ในทุกๆเดือน ผลการทดลองพบว่า เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีความชื้นเริ่มต้นแตกต่างกันเมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน มีผลท้าให้มีเปอร์เซ็นต์ความชื้นเพิ่มขึ้นโดยเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นเริ่มต้นที่ 10, 12 และ 14 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาระยะเวลานาน 6 เดือนจะมีความชื้นเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับ 10.44, 12.45 และ 14.90 เปอร์เซ็นต์ตามล้าดับ เมื่อพิจารณาเปอร์เซ็นต์ความงอกพบว่าเมล็ดข้าวที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 6 เดือนมีเปอร์เซ็นต์ความงอกเฉลี่ยสูงกว่าเมล็ดที่มีความชื้นเริ่มต้น 14 เปอร์เซ็นต์ คือ 91.44 และ 88.06 เปอร์เซ็นต์ตามล้าดับ ส้าหรับดัชนีการงอกของเมล็ดพบว่าเมล็ดข้าวที่มีความชื้นเริ่มต้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีดัชนีการงอกเฉลี่ยสูงกว่าเมล็ดที่มีความชื้นเริ่มต้น 14 เปอร์เซ็นต์ คือ 18.22 และ 16.89 ตามล้าดับ ส้าหรับเวลาเฉลี่ยในการงอกผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเมล็ดพันธุ์ที่มีความชื้นต่้าให้เวลางอกเฉลี่ยน้อยกว่าเมล็ดที่มีปริมาณความชื้นสูง เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 6 เดือน แสดงให้เห็นว่าความชื้นเมล็ดเริ่มต้นมีอิทธิพลต่อคุณภาพของเมล็ดหลังจากเก็บรักษาเป็นเวลานาน ผลของแสงสีต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแสงสีที่ต่างกันต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศสายพันธุ์สีดา ในการทดลองตรวจสอบวัดเปอร์เซ็นต์การงอกและความเร็วในการงอกของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศภายใต้สภาวะแสงแตกต่างกันโดยมี 4 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 4 ซ้้า คือสีฟ้า แดง ขาว และเขียว โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จากการทดลองพบว่าการให้แสงสีที่แตกต่างกันท้าให้เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศมีการงอกที่แตกต่างกัน ซึ่งแสงสีแดงเปอร์เซ็นต์มีการงอกสูงสุดและมีความเร็วในการงอกสูงสุดซึ่งค่าเฉลี่ยเท่ากับ 82.00 และ8.49 ตามล้าดับ แสงสีที่ให้เปอร์เซ็นต์งอกและความเร็วในการงอกน้อยที่สุดคือแสงสีฟ้าโดยจะมีค่าเฉลี่ยเท่า 68.50 และ6.29 ตามล้าดับ จึงสามารถสรุปได้ว่าการให้แสงสีแดงมีผลท้าให้เปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุด และมีความเร็วในการงอกสูงที่สุด
ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้าต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การทดลองนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้าต่อเปอร์เซ็นต์การงอกของพันธุ์ข้าว และเพื่อศึกษาค่าความเป็นกรดเป็นด่างของน้าที่มีผลต่อความเร็วในการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Desing (CRD) มีทั งหมด 5 ทรีทเมนต์ แต่ละทรีทเมนต์มี 4 ซ้า โดยแต่ละทรีทเมนต์ประกอบด้วยน้าที่ใช้เพาะทดสอบเมล็ดที่มีระดับค่าความเป็นกรดเป็นด่างแตกต่างกันคือ 7.0, 6.0, 5.5, 5.0 และ 4.5 ตามล้าดับ โดยใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว 2 แบบคือ เมล็ดพันธุ์ข้าวแบบเมล็ดแห้ง และเมล็ดข้าวที่บ่มให้งอกแล้ว โดยน้าเมล็ดทั ง 2 ชนิดลงเพาะทดสอบโดยวิธี Top of Paper โดยใช้น้าที่มีค่าความที่เป็นกรดเป็นด่างต่างกันดังข้างต้นรดน้าหรือให้ความชื นแล้วตรวจสอบการงอกทุกวันจนครบ 10 วัน จากการศึกษาเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105 พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การงอกต้นกล้าปกติเมล็ดแห้งสูงสุดเมื่อเพาะด้วยน้าที่มีค่า pH 7.0 เท่ากับ 96.00 % ส่วนข้าวเมล็ดแห้งพันธุ์สุพรรณบุรี1 พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การงอกของต้นกล้าปกติเมล็ดแห้งสูงสุดเมื่อเพาะด้วยน้าที่มีค่า pH 7.0 เท่ากับ 94.5% และพันธุ์ข้าวหอมนิลที่มีเปอร์เซ็นต์การงอกของต้นกล้าปกติเมล็ดแห้งสูงสุด73.00% เมื่อเพาะด้วยน้าที่มีค่า pH 7.0 เมื่อทดสอบกับเมล็ดพันธุ์ที่บ่มเเล้วพบว่าข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีการงอกต้นกล้าปกติสูงสุดเท่ากับ 97.00 เมื่อเพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 6.0 ส่วนข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ที่เพาะแล้วมีต้นกล้าปกติสูงสุดไม่แตกต่างกันทางสถิติเท่ากับ 98.00, 98.00 เเละ 97.00% เมื่อเพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 7.0, 6.0 และ 5.5 ตามลาดับ และพันธุ์ข้าวหอมนิลที่บ่มเเล้วมีต้นกล้าปกติสูงสุดเท่ากับ 49.5% เมื่อเพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 7.0 ในส่วนของความเร็วในการงอก ของเมล็ดข้าวแห้งพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มีความเร็วในการงอกมากสุดที่ pH ของสารละลายเท่ากับ 7.0 และ6.0 โดยท้าให้มีความเร็วในการงอกมากสุดเท่ากับ 9.98 และ 8.94 ตามล้าดับ ส่วนข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 มีความเร็วในการงอกมากสุดที่ pH 7.0, 6.0, 5.5 และ 4.5 เท่ากับ 8.68, 7.72, 6.89 และ 6.88 ตามล้าดับ และข้าวหอมนิล มีความเร็วในการงอกมากสุดที่ pH 7.0 เท่ากับ 4.25 ส้าหรับเมล็ดพันธุ์ที่บ่มให้งอกแล้วในพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 โดยให้ความชื นของเมล็ดด้วยสารละลายที่มีค่า pH เท่ากับ 7.0, 6.0 และ 5.5 ท้าให้มีความเร็วในการงอกสูงสุดเท่ากับ 18.60, 18.57 และ 17.89 ตามล้าดับ แต่ไม่
แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนเมล็ดข้าวที่บ่มแล้วของพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ที่เพาะด้วยสารละลาย pH 7.0, 6.0, 5.5 และ 5.0 ท้าให้มีความเร็วในการงอกสูงสุดเท่ากับ 17.26, 16.99, 19.1 และ 16.69 และเมล็ดพันธุ์ข้าวขพันธุ์หอมนิลที่เพาะด้วยสารละลายที่มีค่า pH 7.0 ท้าให้เมล็ดมีความเร็วในการงอกสูงสุดเท่ากับ 4.26
อิทธิพลของพื้นที่ใบที่มีต่อผลผลิตแตงเทศพันธุ์จัสมินเนื้อสีเขียว | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.พิษณุ แก้วตะพาน หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
การทดลองนี้มุ่งทดสอบการไว้พื้นที่ใบต่อการให้ผลผลิตแตงเทศ พันธุ์จัสมินเนื้อสีเขียว ในระดับที่แตกต่างกัน คือ 0.8 , 1.0 และ 1.2 ตารางเมตร ณ โรงเรือนตาข่าย รัตนสุขฟาร์ม ต.หนองขมาน อ.คูเมือง จ.บุรีรัมม์ ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม – 2 กันยายน 2560 โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 3 ซ้า บันทึกข้อมูล 9 ลักษณะ ได้แก่ น้าหนักผล ความกว้างผล ความยาวผล เส้นรอบวง ความหนาด้านซ้ายผล ความหน้าด้านขวาผล ความหน้าขั้ว ความหนาก้นผล และความหวาน จากการทดลองพบว่า เส้นรอบวงผลและความหวานผล มีความแตกต่างกันทางสถิติ (p<0.05) และสาหรับ น้าหนักผล ความกว้างผล ความยาวผล ความหนาด้านซ้ายผล ความหนาด้านขวาผล ความหนาขั้ว และความหนาด้ายซ้ายผล ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p<0.05) โดยการไว้พื้นที่ใบที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อน้าหนักผลของแตงเทศพันธุ์จัสมินเนื้อสีเขียว แต่การไว้พื้นที่ใบ 1.0 ตารางเมตร ส่งผลให้มีเส้นรอบวงผลมากที่สุดของผลผลิต และการไว้พื้นที่ใบ 1.2 ตารางเมตร มีบทบาทต่อความหวานซึ่งมีความหวานสูงสุด คือ 12.38 obrix
|