ผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การศึกษาผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทาการเลี้ยงไก่ไข่ลูกผสมพันธุ์ Babcock อายุ 56 สัปดาห์ จานวน 160 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารสาเร็จรูป(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.10% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 3 อาหารเสริม ขมิ้นชัน 0.25% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 4 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.50% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% เลี้ยงไก่ไข่เป็นเวลา 63 วัน โดยเก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 21 วัน ทาการบันทึก น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน จานวนไก่ตาย จานวนไข่ และเปอร์เซ็นต์ไข่ พบว่า อัตราการไข่ น้าหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ และอัตราการรอดชีวิต ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่พบแนวโน้มว่าไก่ไข่กลุ่มที่ 3 ที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชัน 0.25 บอระเพ็ด 0.20 และฟ้าทะลายโจร 0.20% มีค่ามวลไข่ (P=0.09) และปริมาณอาหารที่กิน (P=0.06) มากกว่ากลุ่มควบคุม การศึกษาผลการเสริมขมิ้นชัน บอระเพ็ด และฟ้าทะลายโจรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่ไข่ โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทาการเลี้ยงไก่ไข่ลูกผสมพันธุ์ Babcock อายุ 56 สัปดาห์ จานวน 160 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 อาหารสาเร็จรูป(กลุ่มควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.10% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 3 อาหารเสริม ขมิ้นชัน 0.25% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% กลุ่มที่ 4 อาหารเสริมขมิ้นชัน 0.50% บอระเพ็ด 0.20% และฟ้าทะลายโจร 0.20% เลี้ยงไก่ไข่เป็นเวลา 63 วัน โดยเก็บข้อมูลเป็น 3 ช่วง ช่วงละ 21 วัน ทาการบันทึก น้าหนักไข่ ปริมาณอาหารที่กิน จานวนไก่ตาย จานวนไข่ และเปอร์เซ็นต์ไข่ พบว่า อัตราการไข่ น้าหนักไข่ มวลไข่ ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ และอัตราการรอดชีวิต ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่พบแนวโน้มว่าไก่ไข่กลุ่มที่ 3 ที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชัน 0.25 บอระเพ็ด 0.20 และฟ้าทะลายโจร 0.20% มีค่ามวลไข่ (P=0.09) และปริมาณอาหารที่กิน (P=0.06) มากกว่ากลุ่มควบคุม ผลการเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิต ของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ การศึกษาผลการเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทำการเลี้ยงไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมใบมะกอกน้ำในระดับต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้า100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่า การเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารไก่กระทง กลุ่มที่ 1 ใบมะกอกน้ำ 0 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 2 ใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ส่งไม่มีผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยมีน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลองที่ไม่มีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) การศึกษาผลการเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยการวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomized Design; CRD) ทำการเลี้ยงไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ในแต่ละกลุ่มจะได้รับอาหารเสริมใบมะกอกน้ำในระดับต่างกัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้า100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใช้อาหารสำเร็จรูปทางการค้าผสมใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่า การเสริมใบมะกอกน้ำในอาหารไก่กระทง กลุ่มที่ 1 ใบมะกอกน้ำ 0 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 2 ใบมะกอกน้ำ 1 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 ใบมะกอกน้ำ 2 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 4 ใบมะกอกน้ำ 4 เปอร์เซ็นต์ ส่งไม่มีผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง โดยมีน้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลองที่ไม่มีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) การใช้มูลโคเนื้อและโคนมเป็นวัสดุเลี้ยงต่อสมรรถภาพการผลิตของไส้เดือนดิน | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ดินแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 5 กลุ่มทดลอง และแต่ละกลุ่มทดลองแบ่งเป็น 4 ซ้า แต่ละซ้าเลี้ยงไส้เดือนจานวน 10 ตัวรวมทั้งหมด 200 ตัว โดยใช้วัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินมีอัตราส่วนร้อยละโดยปริมาตรที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุมใช้มูลโคเนื้อต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 50:50 กลุ่มที่ 2-5 ใช้มูลโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วนที่ต่างกันตามลาดับ ดังนี้ 45:55 40:60 55:45 และ 60:40 จากการศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงต่อสมรรถภาพการผลิตของไส้เดือนดิน พบว่ามีอัตราคงอยู่และน้าหนักตัวที่ลดลงของไส้เดือนทุกกลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P> 0.05) เมื่อพิจารณาระหว่างการทดลองพบว่า กลุ่มที่ใช้วัสดุเลี้ยงโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 60:40 มีน้าหนักตัวสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P <0.05) ส่วนอัตราการคงอยู่เมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่แตกต่าง (P > 0.05) อัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวที่ทาให้น้าหนักตัวของไส้เดือนดินมีน้าหนักตัวลดลงตลอดการทดลองคืออัตราส่วน 50:50 45:55 และ 40:60 แต่อัตราส่วน 60:40 จะมีน้าหนักตัวที่ลดลงน้อยที่สุด จากการทดลองอัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินดีที่สุด เท่ากับ 60:40 ซึ่งเหมาะสาหรับการนาไปเลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์ที่เหมาะสมต่อสมรรถภาพการผลิตปุ๋ยดีที่สุด และยังเหมาะสมต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตของไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้เพื่อศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ดินแบ่งกลุ่มทดลองเป็น 5 กลุ่มทดลอง และแต่ละกลุ่มทดลองแบ่งเป็น 4 ซ้า แต่ละซ้าเลี้ยงไส้เดือนจานวน 10 ตัวรวมทั้งหมด 200 ตัว โดยใช้วัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินมีอัตราส่วนร้อยละโดยปริมาตรที่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุมใช้มูลโคเนื้อต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 50:50 กลุ่มที่ 2-5 ใช้มูลโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วนที่ต่างกันตามลาดับ ดังนี้ 45:55 40:60 55:45 และ 60:40 จากการศึกษาการใช้มูลโคเนื้อและโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงต่อสมรรถภาพการผลิตของไส้เดือนดิน พบว่ามีอัตราคงอยู่และน้าหนักตัวที่ลดลงของไส้เดือนทุกกลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P> 0.05) เมื่อพิจารณาระหว่างการทดลองพบว่า กลุ่มที่ใช้วัสดุเลี้ยงโคนมต่อขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 60:40 มีน้าหนักตัวสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P <0.05) ส่วนอัตราการคงอยู่เมื่อสิ้นสุดการทดลองไม่แตกต่าง (P > 0.05) อัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวที่ทาให้น้าหนักตัวของไส้เดือนดินมีน้าหนักตัวลดลงตลอดการทดลองคืออัตราส่วน 50:50 45:55 และ 40:60 แต่อัตราส่วน 60:40 จะมีน้าหนักตัวที่ลดลงน้อยที่สุด จากการทดลองอัตราส่วนมูลโคนมร่วมกับขุยมะพร้าวเป็นวัสดุเลี้ยงไส้เดือนดินดีที่สุด เท่ากับ 60:40 ซึ่งเหมาะสาหรับการนาไปเลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์ที่เหมาะสมต่อสมรรถภาพการผลิตปุ๋ยดีที่สุด และยังเหมาะสมต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตของไส้เดือนดินพันธุ์ Eudrilus eugeniae ผลการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงที่ใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้น โดยใช้ไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จานวน 120 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ทาการทดลองโดยสุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่าการใช้วัสดุรองพื้นกลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นวัสดุรองพื้นไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงโดยไก่กระทงทุกกลุ่มมีน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและอัตราการตายตลอดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงที่ใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้น โดยใช้ไก่กระทงพันธุ์ Ross 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จานวน 120 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้า ซ้าละ 10 ตัว ทาการทดลองโดยสุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ ใช้เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 ถึง 42 วัน โดยเก็บบันทึกน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และอัตราการตายตลอดการทดลอง ผลการทดลองพบว่าการใช้วัสดุรองพื้นกลุ่มที่ 1 แกลบ 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 2 แกลบ 75 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 25 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่ 3 แกลบ 50 เปอร์เซ็นต์ ใบไผ่ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นวัสดุรองพื้นไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพการผลิตของไก่กระทงโดยไก่กระทงทุกกลุ่มมีน้าหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและอัตราการตายตลอดการทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) ผลการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อคุณภาพซากไก่กระทง | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ราชาวดี ยอดเศรณี หลักสูตร : แขนงวิชาสัตวศาสตร์ ผลการศึกษาการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อคุณภาพซากของไก่กระทงทำการทดลองในไก่กระทงพันธุ์ ROSS 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 วัน ถึง 42 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว สุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ กลุ่มที่ 2 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 25 กลุ่มที่ 3 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 50 ได้รับ ใช้เลี้ยงไก่ทั้งสิ้น 42 วัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองทำการสุ่มไก่กระทงเพศเมียมาซ้ำละ 2 ตัว รวมจำนวนทั้งสิ้น 24 ตัว เพื่อศึกษาคุณภาพซาก ผลการทดลองพบว่าคุณภาพซากของไก่กระทงทุกกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน โดยมีค่าเฉลี่ยของน้ำหนักซาก เปอร์เซ็นต์ซาก และชิ้นส่วนต่างๆ ของซาก (คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ซากของน้ำหนักมีชีวิต) ได้แก่ ปีก เนื้ออกนอก เนื้ออกใน สะโพกและน่อง ขา หัวใจ และตับ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นวัสดุรองพื้นทั้ง 3 กลุ่มไม่ส่งผลต่อคุณภาพซากของไก่กระทง (P>0.05) ผลการศึกษาการใช้ใบไผ่ผสมแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อคุณภาพซากของไก่กระทงทำการทดลองในไก่กระทงพันธุ์ ROSS 308 คละเพศ อายุ 1 วัน จำนวน 120 ตัว เลี้ยงไก่กระทงตั้งแต่อายุ 1 วัน ถึง 42 วัน โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design) แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว สุ่มให้แต่ละกลุ่มใช้วัสดุรองพื้นดังนี้ กลุ่มที่ 1 แกลบ กลุ่มที่ 2 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 25 กลุ่มที่ 3 แกลบผสมใบไผ่ ร้อยละ 50 ได้รับ ใช้เลี้ยงไก่ทั้งสิ้น 42 วัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองทำการสุ่มไก่กระทงเพศเมียมาซ้ำละ 2 ตัว รวมจำนวนทั้งสิ้น 24 ตัว เพื่อศึกษาคุณภาพซาก ผลการทดลองพบว่าคุณภาพซากของไก่กระทงทุกกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน โดยมีค่าเฉลี่ยของน้ำหนักซาก เปอร์เซ็นต์ซาก และชิ้นส่วนต่างๆ ของซาก (คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ซากของน้ำหนักมีชีวิต) ได้แก่ ปีก เนื้ออกนอก เนื้ออกใน สะโพกและน่อง ขา หัวใจ และตับ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นวัสดุรองพื้นทั้ง 3 กลุ่มไม่ส่งผลต่อคุณภาพซากของไก่กระทง (P>0.05) |