การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียว (ZEA MAYS L. VAR. CERATINA) 5 พันธุ์ ในดินอำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียว 5 พันธุ์ ที่เหมาะสมในดิน ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจำนวน 5 พันธุ์ คือ Sweet Violet Sweet wax254 Chai Nat2 Violet White926 และChai Nat84-1 ระหว่างเดือน มิถุนายนถึงกันยายน พ.ศ.2563 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชลพบุรี วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 3 ซ้ำ ผลการทดลองพบว่า ข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ Chai Nat2 ให้จำนวนฝักที่เก็บเกี่ยวได้ทั้งหมด น้ำหนักฝักทั้งเปลือก น้ำหนักฝักที่ปอกเปลือก น้ำหนักฝักทั้งเปลือกของฝักที่ดีที่สุด 5 ฝัก และความยาวของฝักดีที่สุด และมีศักยภาพในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรีได้ดี เหมาะที่จะแนะนำส่งเสริมให้แก่เกษตรกรใช้เป็นพันธุ์ปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจากงานวิจัยนี้แนะนำให้ควรทำการทดลองซ้ำเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยำ และน่าเชื่อถือก่อนจะนำไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดข้าวเหนียว 5 พันธุ์ ที่เหมาะสมในดิน ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจำนวน 5 พันธุ์ คือ Sweet Violet Sweet wax254 Chai Nat2 Violet White926 และChai Nat84-1 ระหว่างเดือน มิถุนายนถึงกันยายน พ.ศ.2563 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชลพบุรี วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 3 ซ้ำ ผลการทดลองพบว่า ข้าวโพดข้าวเหนียวพันธุ์ Chai Nat2 ให้จำนวนฝักที่เก็บเกี่ยวได้ทั้งหมด น้ำหนักฝักทั้งเปลือก น้ำหนักฝักที่ปอกเปลือก น้ำหนักฝักทั้งเปลือกของฝักที่ดีที่สุด 5 ฝัก และความยาวของฝักดีที่สุด และมีศักยภาพในการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ตำบลโคกตูม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรีได้ดี เหมาะที่จะแนะนำส่งเสริมให้แก่เกษตรกรใช้เป็นพันธุ์ปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวจากงานวิจัยนี้แนะนำให้ควรทำการทดลองซ้ำเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยำ และน่าเชื่อถือก่อนจะนำไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป ผลของการไถพรวนและการใส่ปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (Zea mays L.) พันธุ์นครสวรรค์ 3 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความแตกต่างของการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงต่อระบบการปลูกโดยวิธีไถพรวน และไม่ไถพรวนดิน ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 6 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า 6 ประกอบด้วย ทรีทเมนต์ที่ 1: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 2: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 3: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 4: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 5: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไถพรวนดิน) และทรีทเมนต์ที่ 6: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไม่ไถพรวนดิน) ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมการการไถพรวนดินส่งผลให้ความสูงต้นที่อายุ 30 วัน ความสูงต้นที่อายุ 60 วัน ความสูงของฝักแรกที่อายุ 60 วัน ความสูงต้นก่อนเก็บเกี่ยว ความสูงฝักแรกก่อนเก็บเกี่ยว น้้าหนักเมล็ดที่ความชื้น15% น้้าหนักปอกเปลือก น้้าหนักทั้งเปลือก น้้าหนักเมล็ด น้้าหนักซัง วันออกดอกตัวผู้ 50% วันออกไหมตัวเมีย 50% และจ้านวนฝักทั้งหมด ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทรีทเมนต์อื่น การใช่ปุ๋ยเคมีตามวิเคราะห์ดินจะช่วยให้เกษตรกรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้และลดค่าใช้จ่ายแก่เกษตรกรลงไปได้ จากงานวิจัยนี้แนะน้าให้ควรท้าการทดลองซ้้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นย้า และน่าเชื่อถือก่อนจะน้าไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความแตกต่างของการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงต่อระบบการปลูกโดยวิธีไถพรวน และไม่ไถพรวนดิน ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 6 ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 3 ซ้้า 6 ประกอบด้วย ทรีทเมนต์ที่ 1: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 2: ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 3: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 4: มูลโค 1,000 กก./ไร่ (ไม่ไถพรวนดิน) ทรีทเมนต์ที่ 5: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไถพรวนดิน) และทรีทเมนต์ที่ 6: ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ( ไม่ไถพรวนดิน) ผลการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมการการไถพรวนดินส่งผลให้ความสูงต้นที่อายุ 30 วัน ความสูงต้นที่อายุ 60 วัน ความสูงของฝักแรกที่อายุ 60 วัน ความสูงต้นก่อนเก็บเกี่ยว ความสูงฝักแรกก่อนเก็บเกี่ยว น้้าหนักเมล็ดที่ความชื้น15% น้้าหนักปอกเปลือก น้้าหนักทั้งเปลือก น้้าหนักเมล็ด น้้าหนักซัง วันออกดอกตัวผู้ 50% วันออกไหมตัวเมีย 50% และจ้านวนฝักทั้งหมด ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทรีทเมนต์อื่น การใช่ปุ๋ยเคมีตามวิเคราะห์ดินจะช่วยให้เกษตรกรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้และลดค่าใช้จ่ายแก่เกษตรกรลงไปได้ จากงานวิจัยนี้แนะน้าให้ควรท้าการทดลองซ้้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นย้า และน่าเชื่อถือก่อนจะน้าไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม ในถั่วเขียว (VIGNA RADIATA (L.) R. WILCZEK) พันธุ์ชัยนาท 72 | อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ธนกร วังสว่าง หลักสูตร : แขนงวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ถั่วเขียวเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตของถั่วเขียวลดลง เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ยเคมีและค่าจ้างแรงงาน การใช้ปุ๋ยไรโซเบียมจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตในการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของเกษตรกรและยังช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของถั่ว ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตและผลผลิตถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 72 โดยการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 คือ ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 2 คือ ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน และไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 3 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง กรรมวิธีที่ 4 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลว ผลการทดลองพบว่า การใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวทาให้ลักษณะ จานวนกิ่ง น้าหนักเมล็ดต่อแปลงย่อย ผลผลิตต่อแปลงย่อย น้าหนักผลผลิตต่อไร่ น้าหนัก 100 เมล็ด และน้าหนัก 1000 เมล็ด สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีอื่น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ) เนื่องจากปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเหลวแบบใหม่ ยังคงประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง และยังคงอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในส่วนของการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นถั่วเขียว ทาให้ไม่สามารถเห็นผลแตกต่างกันได้อย่างชัดเจน จากงานวิจัยนี้แนะนาให้ควรทาการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยา และน่าเชื่อถือก่อนจะนาไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป ถั่วเขียวเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตของถั่วเขียวลดลง เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของราคาปุ๋ยเคมีและค่าจ้างแรงงาน การใช้ปุ๋ยไรโซเบียมจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตในการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนของเกษตรกรและยังช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของถั่ว ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของการเจริญเติบโตและผลผลิตถั่วเขียวพันธุ์ชัยนาท 72 โดยการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 คือ ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 2 คือ ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน และไม่ใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม กรรมวิธีที่ 3 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง กรรมวิธีที่ 4 คือ ใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลว ผลการทดลองพบว่า การใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยโพแทชเซียมตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมใส่ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวทาให้ลักษณะ จานวนกิ่ง น้าหนักเมล็ดต่อแปลงย่อย ผลผลิตต่อแปลงย่อย น้าหนักผลผลิตต่อไร่ น้าหนัก 100 เมล็ด และน้าหนัก 1000 เมล็ด สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีอื่น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ) เนื่องจากปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเหลวแบบใหม่ ยังคงประสิทธิภาพเทียบเท่ากับเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดผง และยังคงอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเชื้อหรือปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมชนิดเหลวให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในส่วนของการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นถั่วเขียว ทาให้ไม่สามารถเห็นผลแตกต่างกันได้อย่างชัดเจน จากงานวิจัยนี้แนะนาให้ควรทาการทดลองซ้าเพื่อให้ได้ผลที่ถูกต้อง แม่นยา และน่าเชื่อถือก่อนจะนาไปเผยแพร่แก่เกษตรกรใช้ต่อไป |