ตารางเพื่อทบทวน/ตรวจสอบการมีหลักฐานตามแบบ ตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ ประจำปีงบประมาณ 2567

(Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT)

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ประจำปีงบประมาณ 2567  

  • แสดงแผนผังโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงาน
  • แสดงตำแหน่งที่สำคัญและการแบ่งส่วนงานภายใน ยกตัวอย่าง เช่น สำนัก กอง ศูนย์ ฝ่าย ส่วน กลุ่ม เป็นต้น
 
  • แสดงข้อมูลของผู้บริหารสูงสุด และผู้ดำรงตำแหน่งทางการ บริหารของหน่วยงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ผู้บริหารสูงสุด
  • (2) รองผู้บริหารสูงสุด
  • แสดงข้อมูลของผู้บริหารแต่ละคน อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ชื่อ-นามสกุล
  • (2) ตำแหน่ง
  • (3) รูปถ่าย
  • (4) ช่องทางการติดต่อ
 
  • แสดงข้อมูลเฉพาะที่อธิบายถึงหน้าที่และอำนาจของหน่วยงาน
 
  • แสดงข้อมูลการติดต่อของหน่วยงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ที่อยู่หน่วยงาน
  • (2) หมายเลขโทรศัพท์
  • (3) E-mail
  • (4) แผนที่ตั้ง
 
  • ​แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงาน
  • แสดง QR code แบบวัด EITของหน่วยงานที่ดาวน์โหลดจากระบบ ITAS ไว้บนหน้าแรกของเว็บไซต์หลัก ของหน่วยงาน เพื่อให้ผู้รับบริการ หรือติดต่อราชการมีโอกาส ได้มีส่วนร่วม ในการประเมิน ITA ของหน่วยงาน
  • เป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2567
 
  • แสดงช่องทางการสอบถามข้อมูลต่าง ๆ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คําตอบ กับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะเป็น การสื่อสารได้สองทาง (Q&A) ยกตัวอย่างเช่น Messenger Live Chat, Chatbot, Line official Account, Web board
  • สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลัก ของหน่วยงาน
 
  • ​แสดงแผนการดําเนินงานตามภารกิจของหน่วยงานประจําปี พ.ศ. 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) โครงการหรือกิจกรรม
  • (2) ผลผลิตของแต่ละโครงการหรือกิจกรรม
  • (3)งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
  • (4)ระยะเวลาในการดําเนินงาน แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
  • แสดงผลความก้าวหน้าในการดําเนินงานตามแผนการดําเนินงานประจําปี พ.ศ. 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีเนื้อหาหรือรายละเอียด ความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ผลการดําเนินงานของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
  • (2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดําเนินงานแต่ละโครงการ /กิจกรรม
 
  • ​แสดงแผนการดําเนินงานตามภารกิจของหน่วยงานประจําปี พ.ศ. 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) โครงการหรือกิจกรรม
  • (2) ผลผลิตของแต่ละโครงการหรือกิจกรรม
  • (3)งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
  • (4)ระยะเวลาในการดําเนินงาน แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
  • แสดงผลความก้าวหน้าในการดําเนินงานตามแผนการดําเนินงานประจําปี พ.ศ. 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีเนื้อหาหรือรายละเอียด ความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ผลการดําเนินงานของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
  • (2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดําเนินงานแต่ละโครงการ /กิจกรรม
 
  • แสดงผลการดําเนินงานตามแผนดําเนิน งานประจําปี ที่มีรายละเอียด อย่างน้อย ประกอบด้วย
  • (1) ผลการดําเนินการของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
  • (2) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ที่ใช้ดําเนินงานแต่ละโครงการ /กิจกรรม
  • (3) ระยะเวลาในการดําเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม (ระบุเป็น วัน เดือน ปีที่เริ่ม และสิ้นสุดการดําเนินการ)
  • (4) ปัญหา/อุปสรรค
  • (5) ข้อเสนอแนะ
  • เป็นรายงานผลของปีพ.ศ. 2566
 
  • แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยึดถือปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน *ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ชื่องาน
  • (2) วิธีการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
  • (3) ระยะเวลาการปฏิบัติงาน แต่ละขั้นตอน
  • (4) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
  • แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยึดถือปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน *ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ชื่องาน
  • (2) วิธีการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
  • (3) ระยะเวลาการปฏิบัติงาน แต่ละขั้นตอน
  • (4) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
  • แสดงข้อมูลสถิติการให้บริการตาม ภารกิจของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด ของแต่ละงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) จํานวนผู้รับบริการที่เข้ามา (Walk-in)
  • (2) จํานวนผู้รับบริการ ผ่านช่องทาง E-Service
 
  • แสดงระบบการให้บริการ* ผ่านช่องทางออนไลน์* ที่ผู้ขอรับบริการไม่ต้อง เดินทางมายังจุดให้บริการ
  • แสดงรายละเอียดวิธีการใช้งานระบบการให้บริการ
  • สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของ หน่วยงาน
 
  • แสดงรายการการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน ในประเภทงบรายจ่าย หมวดงบลงทุนที่จะมีการดําเนินการ ในปี พ.ศ. 2567 ทุกรายการที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
  • (2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
  • (3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
  • (4) วิธีการที่จะดําเนินการจัดซื้อจัดจ้างฯ
  • (5) ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเริ่มดําเนินการ
 
  • แสดงแผนการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560*
  • แสดงประกาศการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ยกตัวอย่างเช่น ประกาศเชิญชวน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง
  • เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567
 
  • แสดงความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
  • (2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
  • (3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
  • (4) สถานการณ์จัดซื้อจัดจ้างฯ
  • (5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
  • (6) ราคากลาง (บาท)
  • (7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
  • (8) เลขประจําตัวผู้เสียภาษี/เลขประจําตัวประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
  • (10) เลขที่โครงการ
  • (11) วันที่ลงนามในสัญญา
  • (12) วันสิ้นสุดสัญญา
 
  • แสดงรายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
    • (1) จํานวนรายการจัดซื้อจัดจ้างฯจําแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
    • (2) งบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจ้างฯจําแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ (บาท)
    • (3) ปัญหา/อุปสรรค
    • (4) ข้อเสนอแนะ
  • แสดงผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
    • (1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
    • (2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
    • (3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
    • (4) สถานการณ์จัดซื้อจัดจ้างฯ
    • (5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
    • (6) ราคากลาง (บาท)
    • (7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
    • (8) เลขประจําตัวผู้เสียภาษี/เลขประจําตัวประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการ
 
  • แสดงแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากร บุคคล ที่มีรายละเอียดอยางน้อยประกอบด้วย
  • (1) โครงการหรือกิจกรรม
  • (2) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการ หรือกิจกรรม
  • (3) ระยะเวลาในการดําเนินการแต่ละโครงการหรือกิจกรรม เป็นแผนฯ ที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567
 
  • แสดงผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) โครงการหรือกิจกรรม
  • (2) ผลการดําเนินการของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
  • (3) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดําเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
  • (4) ระยะเวลาในการดําเนินการ(ระบุเป็นวัน เดือน ปีที่เริ่ม และสิ้นสุดการ ดําเนินการ)
  • (5) ข้อมูลสถิติอัตรากําลัง จําแนกตามประเภทตําแหน่ง
  • (6) ข้อมูลสถิติจํานวนผู้เข้ารับการฝีกอบรมหรือพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  • (7) ปัญหา/อุปสรรค
  • (8) ข้อเสนอแนะ
 
  • แสดงประมวลจริยธรรมสําหรับเจ้าหน้าที่ ของรัฐ*
    * กรณีประมวลจริยธรรมจะต้องดําเนินการโดยองค์กรที่มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
    *กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องแสดงประมวลจริยธรรมจํานวน 3 ฉบับ ได้แก่ ประมวลจริยธรรม ผู้บริหารท้องถิ่น ประมวลจริยธรรมสมาชิกสภาท้องถิ่น และประกาศคณะกรรมการ มาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เรื่อง ประมวลจริยธรรมพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
  • แสดงผลการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม ให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) การจัดตั้งทีมให้คําปรึกษา ตอบคําถามทางจริยธรรม หรือคณะทํางานขับเคลื่อนเรื่องจริยธรรม โดยให้แสดงเป็นคําสั่งแต่งตั้งที่เป็น ทางการ
  • (2) แนวปฏิบัติ Dos & Don’ts เพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทาและเป็นแนวทางในการประพฤติตน ทางจริยธรรมที่จัดทําขึ้นโดยหน่วยงาน
  • (3) การฝึกอบรมที่มีการสอดแทรกสาระด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐในหลักสูตร หรือกิจกรรมเสริมสร้าง/ ส่งเสริมจริยธรรมที่ดําเนินการ โดยหน่วยงานในปี พ.ศ. 2567
 
  • แสดงคู่มือหรือแนวทางการดําเนินการต่อเรื่อง ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้ร้องควรรู้เพื่อใช้ในการร้องเรียน เช่น ชื่อ-สกุลของผู้ถูกร้อง ช่วงเวลาการกระทําความผิด พฤติการณ์การทุจริตและประพฤติมิชอบ
  • (2) ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
  • (3) ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
  • (4) ส่วนงานที่รับผิดชอบ
  • (5) ระยะเวลาดําเนินการ
 
  • ​แสดงช่องทางออนไลน์ที่บุคคล ภายนอกสามารถ แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติ มิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน โดยต้องแยก ต่างหากจากช่องทางการร้องเรียนทั่วไป
  • เป็นช่องทางที่มีการคุ้มครองข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแส
  • สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
 
  • แสดงข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1)จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
  • (2) จำนวนเรื่องที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
  • (3) จำนวนเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
 
  • แสดงผลการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอก ได้มีส่วนร่วมในการดําเนินงานตามภารกิจ ของหน่วยงานที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ประเด็นหรือเรื่องในการมีส่วนร่วม
  • (2) สรุปข้อมูลของผู้มีส่วนร่วม
  • (3) ผลจากการมีส่วนร่วม
  • (4) การนําผลจากการมีส่วนร่วมไปปรับปรุงพัฒนาการดําเนินงานของหน่วยงาน
 
  • เป็นประกาศฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ* อย่างเป็นทางการที่ลงนามโดยผู้บริหารสูงสุดที่ดํารงตําแหน่งในปี พ.ศ. 2567
  • มีวัตถุประสงค์เพื่อประกาศว่าผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกคนในหน่วยงานจะไม่รับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดในขณะ/ก่อน/หลังปฏิบัติหน้าที่ ที่จะส่งผลให้เกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบ เป็นการประกาศสำหรับปี 2567
 
  • แสดงการดำเนินกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปลุกจิตสำนึกหรือสร้างวัฒนธรรมให้เจ้าหน้าที่ในการปฏิเสธการรับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดจากการปฏิบัติหน้าที่
  • เป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะการประชุม การสัมมนา เพื่อถ่ายทอดหรือมอบนโยบาย หรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
  • เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567
 
  • แสดงรายงานการรับของขวัญและของกํานัล ตามนโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่สําหรับหน่วยงาน
  • เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงานปี พ.ศ. 2566
 
  • แสดงรายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใดโดยธรรมจรรยาสําหรับหน่วยงาน ตามมาตรา 128 แห่งพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. 2561
 
  • แสดงผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบนของการดําเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามภารกิจของหน่วย งาน อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
  • (1) การอนุมัติ อนุญาตตามพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558*
  • (2) การใช้อํานาจตามกฎหมาย/การให้บริการตามภารกิจ
  • (3) การจัดซื้อจัดจ้าง
  • (4) การบริหารงานบุคคล
  • ในการประเมินความเสี่ยงการทุจริตแต่ละประเด็น ต้องมีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความเสี่ยง
  • (2) มาตรการในการบริหารจัดการ ความเสี่ยง
  • เป็นการดําเนินการในปี พ.ศ.2567
 
  • แสดงผลการประเมินความเสี่ยงและผล การดําเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต และประพฤติมิชอบ ประจําปี พ.ศ. 2566
  • (1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความเสี่ยง
  • (2) มาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยง
  • (3) ผลการดําเนินการตามมาตรการหรือการดําเนินการเพื่อบริหาร
 
  • แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม หรือธรรมาภิบาลที่จัดทําโดย หน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
  • เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567 *กรณีการดำเนินการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมาณ ให้ระบุในแผนว่าไม่ได้ใช้งบประมาณดำเนินการ
  • (1) โครงการ/กิจกรรม
  • (2) งบประมาณแต่ละโครงการ/กิจกรรม*
  • (3) ระยะเวลาดําเนินการ แต่ละโครงการ/ กิจกรรม
 
  • แสดงผลการดําเนินการที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐาน จริยธรรม หรือธรรมาภิบาล ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) ผลดําเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
  • (2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดําเนินการ แต่ละโครงการ/กิจกรรม*
  • (3) ปัญหา/อุปสรรค
  • (4) ข้อเสนอแนะ
  • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566 *กรณีการดําเนินโครงการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมาณให้ระบุในผลว่าไม่ได้ใช้งบประมาณดําเนินการ
 
  • แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2566* ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็น ดังต่อไปนี้
  • (1) กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ
  • (2) การให้บริการและระบบ E-Service
  • (3) ช่องทางและรูปแบบการประชา สัมพันธ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ
  • (4) กระบวนการกํากับดูแลการใช้ทรัพย์สิน ของราชการ
  • (5) กระบวนการสร้างความโปร่งใสในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง
  • (6) กระบวนการควบคุม ตรวจสอบการใช้อํานาจและการบริหารงานบุคคล
  • (7) กลไกและมาตรการในการแก้ไขและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
  • แสดงการกําหนดวิธีการนําผลการวิเคราะห์ แต่ละประเด็นไปสู่การปฏิบัติ* ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
  • (1) วิธีการนําผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติ
  • (2) การกําหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
  • (3) การกําหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
  • (4) ระยะเวลา
  • แสดงการวิเคราะห์ข้อจํากัดของหน่วยงาน ในการดําเนินการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดําเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ
    *กรณีหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินฯ เป็นครั้งแรกให้หน่วยงานวิเคราะห์ตามประเด็นที่กําหนดโดยคํานึงถึงบริบท และการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน
 
  • ๐ แสดงผลการดําเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงานตาม มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน* ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
  • (1) มาตรการหรือกิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
  • (2) สรุปผลการดําเนินการตามมาตรการหรือกิจกรรม
  • (3) ผลลัพธ์หรือความสําเร็จของการดําเนินการ
  • เป็นการดําเนินการในปี พ.ศ. 2566