หลักสูตร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (Bachelor of Science Program in Food Science and Technology)

ชื่อหลักสูตร :

  • ชื่อภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
  • ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Food Science and Technology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา :

  • ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
  • ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Science (Food Science and Technology)
  • ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
  • ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Sc. (Food Science and Technology)

ภาษาที่ใช้ :

  • หลักสูตรจัดการศึกษา เป็นภาษาไทย

แผนการรับนักศึกษา :

  • จ.ปทุมธานี 35 คน

วีดีทัศน์แนะนำหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิต รูปแบบ และประเภทของหลักสูตร :

    จำนวนหน่วยกิตที่เรียน รูปแบบของหลักสูตร ประเภทของหลักสูตร สถานที่จัดการเรียนการสอน
    138 หน่วยกิต หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
  • อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

รายละเอียดหลักสูตร :

  • เน้นการเรียนรู้ทางด้าน
  • นอกจากนี้แล้วบัณฑิตเมื่อสำเร็จการศึกษาหลักสูตรนี้ สามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโท ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น
  • สมัครที่มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ( http://www.vru.ac.th ) click
  • สมัครออนไลน์ในเว็บไซต์มหาวิทยาลัย ( http://web2020.vru.ac.th/DefaultS.aspx ) click ดาวน์โหลดใบสมัคร
  • สอบถามข้อมูลได้ที่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร โทร : 02-5293002 ต่อ 10 หรือ 12

เว็บเพจหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร :

โครงสร้างหลักสูตร :


  จำนวนหน่วยกิต   หมวดวิชา
 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  
 - กลุ่มวิชาภาษา 11 หน่วยกิต
 - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 11 หน่วยกิต
 - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 8 หน่วยกิต
 หมวดวิชาเฉพาะ  
 - กลุ่มวิชาเฉพาะด้านบังคับ 82 หน่วยกิต
 - กลุ่มวิชาเฉพาะด้านเลือก 12 หน่วยกิต
 - กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
    1. กลุ่มวิชาสหกิจศึกษา
    2. กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
8 หน่วยกิต
 หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า   138 หน่วยกิต 

กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ชั้นปีที่ 1

ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป XXXXXX การศึกษาทั่วไป 7
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาบังคับ) AFS101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เบื้องต้น 2(2-0-4)
SBT101 ชีววิทยาพื้นฐาน 3(2-2-5)
SCH101 เคมีพื้นฐาน 3(2-2-5)
SCH238 หลักการและเทคนิคการใช้ เครื่องมือวิเคราะห์ 3(2-2-5)
SPY101 ฟิสิกส์พื้นฐาน 3(2-2-5)
รวมหน่วยกิต :  21
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป XXXXXX การศึกษาทั่วไป 7
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาบังคับ) SBT203 จุลชีววิทยา 3(3-0-6)
SBT204 ปฏิบัติการจุลชีววิทยา 1(0-3-2)
SCH221 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน 3(2-2-5)
SCH251 ชีวเคมีพื้นฐาน 3(2-2-5)
SMS101 แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 3(3-0-6)
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาฝึกประสบการณ์ฯ) AFS351 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 1 1(45)
รวมหน่วยกิต :  21

กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ชั้นปีที่ 2

ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป XXXXXX การศึกษาทั่วไป 10
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาบังคับ) AFS211 อาหารและโภชนศาสตร์ 2(2-0-4)
SCH241 เคมีเชิงฟิสิกส์พื้นฐาน 3(2-2-5)
AFS241 กฎหมายและมาตรฐานอาหาร 3(3-0-6)
SMS103 หลักสถิติ 3(3-0-6)
รวมหน่วยกิต :  21
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป XXXXXX การศึกษาทั่วไป 6
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาบังคับ) AFS446 การสุขาภิบาลในอุตสาหกรรมอาหาร 3(2-3-5)
AFS231 การแปรรูปอาหาร 1 3(2-3-5)
AFS251 เคมีอาหาร 1 2(1-3-3)
AFS321 จุลชีววิทยาทางอาหาร 3(3-0-6)
AFS323 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาทางอาหาร 1(0-3-2)
AFS397 ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร 3(2-3-5)
รวมหน่วยกิต :  21

กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ชั้นปีที่ 3

ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาบังคับ) AFS312 เคมีอาหาร 2 2(1-3-3)
AFS313 หลักการวิเคราะห์อาหาร 2(2-0-4)
AFS332 การแปรรูปอาหาร 2 3(2-3-5)
AFS333 หลักวิศวกรรมอาหาร 3(3-0-6)
AFS334 ปฏิบัติการหลักวิศวกรรมอาหาร 1(0-3-2)
AFS345 การประเมินคุณภาพอาหารทางประสาทสัมผัส 2(1-3-3)
AFS340 การจัดการโรงงานและการบริหาร โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 2(2-0-4)
หมวดวิชาเลือกเสรี XXXXXX เลือกเสรี 1 3
รวมหน่วยกิต :  18
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาบังคับ) AFS349 การควบคุมคุณภาพอุตสาหกรรมอาหาร 2(1-3-3)
AFS392 ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 2(2-0-4)
AFS448 ระบบประกันคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร 3(2-3-5)
AFS455 สัมมนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 1(1-0-2)
AFS498 วิจัยพัฒนาและสร้างนวัตกรรมอาหาร 3(2-3-5)
หมวดวิชาเฉพาะ AFS371 เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์ 3(2-3-5)
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเลือก) AFS382 เทคโนโลยีธัญชาติและผลิตภัณฑ์ 3(2-3-5)
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาฝึกประสบการณ์ฯ) AFS352 การเตรียมสหกิจศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร หรือ 1(45)
AFS353 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร 2 1(45)
รวมหน่วยกิต :  18

กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ชั้นปีที่ 4

ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาฝึกประสบการณ์ฯ) AFS454 สหกิจศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร หรือ 6(640)
AFS453 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร 3(320)
รวมหน่วยกิต :  6 หรือ 3
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาบังคับ) AFS335 เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์อาหาร 3(2-3-5)
หมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเลือก) AFS372 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม 3(2-3-5)
AFS461 เทคโนโลยีผักและผลไม้ 3(2-3-5)
หมวดวิชาเลือกเสรี XXXXXX เลือกเสรี 2 3(X-X-X)
หมวดวิชาเฉพาะ * (วิชาฝึกประสบการณ์ฯ) AFS456 ปัญหาพิเศษวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 3(0-9-3)
รวมหน่วยกิต :  15 หรือ 12

ตัวอย่างการประกอบอาชีพหลังจบการศึกษา

    1. ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม
    2. ทำงานในหน่วยงานเอกชน เช่น โรงงานแปรรูปอาหาร (ได้แก่ ฝ่ายผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เป็นต้น)
    3. บริษัทตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพอาหารนักงาน จำหน่ายอุปกรณ์ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ สารเคมี หรือวัตถุเจือปนอาหาร
    4. ทำงานในหน่วยงานของรัฐ เช่น นักวิจัย นักวิชาการทั้งในหน่วยงาน ตรวจสอบวิเคราะห์อาหารหรือหน่วยงานอื่นๆ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น
    5. ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาของรัฐบาล และเอกชน
    6. ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ

อาจารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร :

ผศ.นันท์ปภัทร์ ทองคำ

ประธานหลักสูตร

ผศ.ทรงพลธนฤทธ์ มฤครัฐอินแปลง

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ผศ.ภาสุรี ฤทธิเลิศ

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ผศ.หรรษา เวียงวะลัย

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ผศ.วัฒนี บุญวิทยา

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ผศ.ดร.สุภณิดา พัฒธร

อาจารย์ผู้สอน

นางสาวนิศารัตน์ ตามสมัคร

นักวิทยาศาสตร์